Inter Math-English

Special!!! Inter Math-English Tutor for Bilingual Students "รับสอนพิเศษ คณิต อังกฤษ" เด็กนานาชาติ
สอนโดย นร.ทุน ป.โท ประเทศอังกฤษ สอนจากประสบการณ์จริง 0814288836 คิตตี้

วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2555

ผลการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุเป็นพนักงาน กนอ.

ผลการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุเป็นพนักงาน กนอ.
http://www.ieat.go.th/ieat/attachments/1134_HR_160112.pdf

ผลการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุเป็นพนักงาน
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 3/2555 เรื่องผลการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุเป็นพนักงาน
ตามที่ได้มีผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อบรรจุเป็นพนักงานการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย คณะกรรมการคัดเลือกบุคคลฯ ได้ดำเนินการคัดเลือกเสร็จสิ้นไปแล้ว นั้น
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ขอประกาศให้ทราบว่า
1. ตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์ 8
ผู้ที่ได้รับการคัดเลือก ได้แก่
นางสาวจริยา สุขะปาน
2. ตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์ 6
ผู้ที่ได้รับการคัดเลือก ได้แก่
1) นางสาวสุภัทรา แย้มสรวล
2) นางสาวชัชรีย์ เลิศสิริวิลัย
3) นางสาวปาริชาด บุญสวน
4) นางสาวรุ่งนภา จุลศักดิ์
3. ตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์ 5
ผู้ที่ได้รับการคัดเลือก ได้แก่
1) นางสาวรัชนา นำนาผล
2) นางสาวเสาวภาคย์ เบียซิน
3) นางสาวณิชมน อิ๋วสกุล
4) นางสาวมัสลิน สุกใส
4. ตำแหน่งวิศวกร 6
ผู้ที่ได้รับการคัดเลือก ได้แก่
1) นางสาวกิติมา อินทิแสง
2) นายชาญณรงค์ รุ่งเรือง
3) นายสวราชย์ ด่านพิทักษ์กุล
ผู้ได้รับการคัดเลือกในอันดับสำรอง ได้แก่ นายพงศ์วิทย์ พรมสุวรรณ
5. ตำแหน่งวิศวกร 5
ผู้ที่ได้รับการคัดเลือก ได้แก่
1) นายกิตติภัฏ ภาคสวัสดิ์
2) นางสาวรักษิณา รุเทียนชัย
3) นายกนก หมอกมืด
ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกในอันดับสำรอง  ได้แก่ นายอนุศักดิ์ ประสมสิน

วันอาทิตย์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2555

เปิดสูตรรัฐบาลพลิกโฉมภาคใต้ ศูนย์กลางพลังงาน-สะพานเศรษฐกิจ โฟกัสอ.สิชล นครศรีธรรมราชเป็น eco-industrial estate


เปิดสูตรรัฐบาลพลิกโฉมภาคใต้ ศูนย์กลางพลังงาน-สะพานเศรษฐกิจ โฟกัสอ.สิชล นครศรีธรรมราชเป็น eco-industrial estate

http://thaipublica.org/2012/01/southern-oil-bridge-eco-industrial-estate/


SOUTHERN-PLAN1.jpg
เป็ค.pngSOUTHERN-PLAN2.jpg

นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเศรษฐกิจ: นิยาม หลักการ ตัวอย่าง

นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเศรษฐกิจ: นิยาม หลักการ และตัวอย่าง (PDF)
โดย อ.กิตติกรจามร ดุสิต
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ ม.มหิดล

วันพฤหัสบดีที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2555

รวมลิงค์ งานประดิษฐ์ D.I.Y

เปเปอร์เคล ขายส่ง http://www.postfree108.com/042058_%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5-%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B5-/

Bloggang.com : idea4thai : ทำดินเยื่อกระดาษ

Bloggang.com : idea4thai : ทำดินเยื่อกระดาษ
ทำดินเยื่อกระดาษ

ปัจจุบันโรงเรียนอนุบาลหลายแห่งหันมาใช้กระดาษทิชชูแทนกระดาษหนังสือพิมพ์เพราะมีเนื้อนุ่มฉีกแช่น้ำแล้วปั่นได้ทันที เยื่อกระดาษที่ได้จะละเอียดขาวสะอาด เมื่อนำมาผสมกับสีผสมอาหารจะได้สีสดใส และปลอดภัยกว่าสีที่ติดมากับกระดาษหนังสือพิมพ์

การทำดินเยื่อกระดาษเพื่อใช้ในการเรียนการสอนในเด็กเล็กจะคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลักวัสดุที่นำมาใช้ต้องปลอดภัย ทั้งจากการสัมผัสและเผลอกินเข้าไป ในเด็กเล็กๆ จึงนิยมใช้แป้งโด หรือโดเค็ม แทนดิน

แต่สำหรับเด็กโตแล้วจะนิยมใช้ดินน้ำมันหรือดินเยื่อกระดาษเพราะมีคุณสมบัติดีกว่าสามารถตอบสนองความต้องการ ที่สร้างสรรค์ได้มากกว่า ดังนั้นเราจะมาทำดินเยื่อกระดาษใช้กันเอง โดยเริ่มจากสูตรง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก ไปจนถึงสูตรดินไทยที่พยายามทำให้ใกล้เคียงกับดินเยื่อกระดาษของญี่ปุ่น

สูตรทันใจ ไม่ยุ่งยาก

1. นำเยื่อกระดาษทิชชูมาผสมกับกาวลาเทกซ์ อัตราส่วน 1:1/4 คลุกให้เข้ากันแล้วนวดจนเป็นเนื้อเดียวกัน (ถ้าเนื้อกระดาษร่วนเติมกาวลาเท็กซ์เพิ่มแล้วนวดให้เนียน)
2. แบ่งเป็นส่วนๆ เพื่อผสมกับสีผสมอาหารหลายๆ สี แล้วนวดให้เนียนเสมอกัน
3. ปั้นเป็นก้อนกลม ใส่ถุงพลาสติก ปิดปากถุงไม่ให้อากาศเข้าได้
4. เวลานำมาใช้งาน ให้ใช้น้ำมันมะกอกทาที่ฝ่ามือเล็กน้อย ดินจะไม่ติดมือ

สูตรประหยัด ใ้ช้แป้งผสม



1. นำกระดาษหนังสือพิมพ์มาฉีกเป็นชิ้นเล็กๆ แช่น้ำไว้ 1-2 ชั่วโมง
2. นำกระดาษที่แช่น้ำมาปั่นด้วยเครื่องให้ละเอียด (ต้องใส่นำ้มากๆ กระดาษ 1ส่วน น้ำ 4ส่วน)
3. ต้องการละเอียดมาก ให้ปั่น 2 ครั้ง เสร็จแล้วเทใส่กระชอนกรองน้ำออก(ใช้มือคนไม่ให้เศษกระดาษอุดรูกระชอน) บีบนำ้ออกพอหมาดๆ แล้วใส่อ่างไว้
4. นำแป้งเปียกที่ทำไว้มาผสมกับเยื่อกระดาษ อัตราส่วน 1:1 คลุกให้เข้ากันแล้วนวดจนเป็นเนื้อเดียวกัน ถ้าเนื้อกระดาษร่วนให้เติมแป้งเปียกเพิ่ม แล้วนวดต่อให้เป็นเนื้อเดียวกัน
5. โรยแป้งข้าวโพดผสมทีละน้อย แล้วนวดต่อจนเนื้อเนียนดี (อัตราส่วน 1:1)
6. ปั้นเป็นก้อนกลม ใส่ถุงพลาสติก เก็บไว้ไม่ให้อากาศเข้า
7. เวลาใช้ให้ผสมน้ำมันมะกอกเล็กน้อย นวดให้เข้ากันจนเนียนจะไม่ติดมือ

หมายเหตุ :

แป้งเปียก
ใช้แป้งมันผสมน้ำคนให้ละลาย ใส่สารส้มบดละเอียด 1 ช้อน(กันแป้งบูด)
ตั้งไฟอ่อน ใช้พายคนไปทางเดียว แป้งจะไม่เป็นก้อน จนแป้งสุกเหนียวข้นจึงดับไฟ
แล้วทิ้งไว้ให้เย็นก่อน นำไปผสมกับเยื่อกระดาษ (ถ้าต้องการให้เนื้อแป้งร่วน ให้เติมแป้งข้าวโพดผสมกับแป้งมันตอนละลายน้ำ)

สูตรดินไทย สไตล์ญี่ปุ่น

ดินเยื่อกระดาษที่เรียกว่าดินญี่ปุ่นนั้นจะมีเนื้อละเอียดเนียน มีความยืดหยุ่นสูงจึงสามารถนำมา ปั้นงานชิ้นเล็กๆ ได้ดี เมื่อแห้งแล้วผิวจะเรียบมีความแข็งแรงพอควร ไม่ปริหักหรือแตกง่าย ส่วนดินไทยที่ทำขึ้นใช้เองส่วนใหญ่จะด้อยกว่าของนอก แต่ก็เหมาะสมกับราคาและที่สำคัญผลิตในเมืองไทย เงินทองไม่ไหลออก

สูตรดินเยื่อกระดาษ

ส่วนผสม

1. แป้งข้าวโพด หรือแป้งสาลี 2 ถ้วยตวง
2. แป้งข้าวเหนียว 1 ถ้วยตวง3. เยื่อกระดาษทิชชู 1/2 ถ้วยตวง
4. กาวลาเท็กซ์ 2 3/4 ถ้วยตวง
5. ครีมพอนด์มะนาว 3 ช้อนโต๊ะ
6. สารกันรา 1 ช้อนโต๊ะ

วิธีทำ

1. ผสมเยื่อกระดาษทิชชูกับกาวลาเท็กซ์ปั่นให้เข้ากัน แล้วนวดจนเป็นเนื้อเดียวกัน2. นำแป้งทั้งสองมาผสม แล้วนวดต่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน
3. ใส่ครีมทาผิวและสารกันรา แล้วนวดต่อจนเนียน จับแล้วไม่ติดมือ
4. แบ่งเป็นส่วนๆ นำมาผสมกับสีน้ำมัน แล้วปั้นแยกไว้เป็นก้อนๆ
5. เก็บใส่ถุงพลาสติก ปิดปากถุงไม่ให้อากาศเข้า
6. ตอนนำมาใช้งาน ให้ทาฝ่ามือด้วยครีมทาผิว แล้วนวดดินให้เนียนก่อนปั้น

ที่มาของสูตร :
หนังสือการปั้นและปะติดงานกระดาษ
ผู้แต่ง : พรยุพรรณ พรสุขสวัสดิ์ และปฤณัต แสงสว่าง

สูตรดินไทย

ส่วนผสม

1. ดินขาว 1 ก.ก
2. กาวลาเท็กซ์ 600 กรัม
3. กาวน้ำ 600 กรัม
4. วาสลีน 2 ช้อนโต๊ะ
5. น้ำมันมะกอก 4 ช้อนโต๊ะ
วิธีทำ

1. นำส่วนผสมทั้งหมดคือ ดิน กาวลาเท็กซ์ กาวน้ำ น้ำมันมะกอก วาสลีน คลุกเคล้าให้เป็นเนื้อเดียวกัน
2. นำดินที่ผสมแล้วออกผึงลม โดยแผ่ดินให้เป็นแผ่นบางๆ หมั่นพลิกกลับและนวดสลับกับการผึ่งลมอย่างต่อเนื่อง จนเนื้อดินแข็งไม่ติดมือ พร้อมที่จะนำไปใช้งาน
3. ทาวาสลีนที่มือลูบผิวก้อนดินห่อด้วยพลาสติกใส่เก็บไว้ในอุณหภูมิปกติ

ที่มาของสูตร :
หนังสือดอกไม้ปั้นแต่ง ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัตนลักษณ์ ปัญจวุฒิพัฒน



Create Date : 15 กรกฎาคม 2552
Last Update : 15 กรกฎาคม 2552 8:31:20 น.

ว่าที่วิศวกร ที่ 'การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย'

ปลื้มปิติ ที่จะได้กลับคืนสู่สังเวียน ไปเป็นวิศวกร (Industrial engineer) หัวใจสีเขียว ไปเป็นฟันเฟืองหนึ่งที่จะช่วยสนับสนุนเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศก์ (Eco industrial estate) จะได้ทดลองการปฏิบัติตนตามคอนเซป Engineer of 2020 ตามที่ตั้งใจมาตลอด หลังจากไปผจญภัยในต่างแดน และทำงานต่างสาขา(นักวิชาการประมง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, นักวิจัยโครงการ, ผู้เชี่ยวชาญด้านขยะทะเล, ที่ปรึกษาด้านขยะทะเล IUCNT เป็นต้น) มา 2 ปี ได้เวลาคืนสังเวียนเสียที ^^