Inter Math-English

Special!!! Inter Math-English Tutor for Bilingual Students "รับสอนพิเศษ คณิต อังกฤษ" เด็กนานาชาติ
สอนโดย นร.ทุน ป.โท ประเทศอังกฤษ สอนจากประสบการณ์จริง 0814288836 คิตตี้

วันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554

Eco Industrial Estate เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเศรษฐกิจ

http://www.greendee.org/ บทความน่าอ่านด้านอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-Industrial) จาก Development of Eco-Industrial Estate in Thailand

วันศุกร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2554

Grand Challenges for Engineering by a committe of the National Academy of Engineering

National Academy of Engineerinng http://www.engineeringchallenges.org/cms/challenges.aspx

The National Academy of Engineering has identified
14 grand challenges for engineering in the 21st century.

Here are the Grand Challenges for engineering as determined by a committe of the National Academy of Engineering:

Make solar energy economical
Provide energy from fusion
Develop carbon sequestration methods
Manage the nitrogen cycle
Provide access to clean water
Restore and improve urban infrastructure
Advance health informatics
Engineer better medicines
Reverse-engineer the brain
Prevent nuclear terror
Secure cyberspace
Enhance virtual reality
Advance personalized learning
Engineer the tools of scientific discovery

RUY FLAKS SCHNEIDER, RIO DE JANEIRO, BRAZIL
"I really can not envision a solution to mankind's current major challenge, i.e. Food Production and Distribution Increase/Optimi zation, without the concurrence of Engineers and Engineering ways." As a Stanford U. engineering alumnus, M.S. Industrial Engineering (Engineering-Economy) 1965, I was informed of Prof. William Perry's chaired distinguished team of Engineers that identified Engineering 14 Grand Challenges for the 21st Century. With all due respect to this cohort of leading thinkers and fully appreciating the importance of the challenges identified, I must express my perplexity regarding the absence of "Increasing/Optimizing Food Production and Distribution". For me this is truly the number one challenge that faces us in the present and future. Although some of the challenges mentioned have indeed points in common with the food production, they do not represent this crucial challenge entirely. Engineers can and must address this problem. Engineering approach to problem identification and solving, Engineering methods, Engineering concepts and many others are required to identify and improve the integration and the systemic use of manpower/soil/seeds/ferti lisers/water/equipment/en ergy/funding/wheater/dist ribution channels/transportation/w arehousing and a few other factors. I really can not envision a solution to mankind's current major challenge, i.e. Food Production and Distribution Increase/Optimization, without the concurrence of Engineers and Engineering ways.

รวมรายชื่อรัฐวิสาหกิจ

รวมรายชื่อรัฐวิสาหกิจ (โดยละเอียด)

http://gfmis-soe.sepo.go.th/th/web_link/print_excel.php

วันพฤหัสบดีที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2554

วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2554

บทบาทวิศวกรในภาวะโลกร้อน Engineers  Role  in  Global  Warming

บทบาทวิศวกรในภาวะโลกร้อน

Engineers  Role  in  Global  Warming

1.  บทนำ (Introduction)

               ในภาวะโลกร้อนขึ้นเรื่อยๆ  ทำให้หลายๆ  ฝ่ายหันมาสนใจและคิดว่าจะมีปัญหาอะไรที่ตามมาอีกในภาวะเช่นนี้  และอีกนานเท่าไร บางคนก็ได้แต่กลัวแต่ไม่ไม่ได้เห็นมีมาตรการแก้ไขปัญหาหรือวิธีการหลบเลี่ยงอย่างไร บางคนก็ไม่เชื่อและก็ไม่กลัว ฟังสนุกๆ  ทั้งไม่แก้และไม่หนีบางทีก็มองเป็นเรื่องตลกขบขันมากกว่า  บางคนก็กลัวแต่ก็พยายามไปแก้ที่ปลายเหตุและไม่ตรงกับที่คัน(ตรงเหตุ) บางคนก็กลัวแล้วก็พูดอย่างเดียว

               การแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุมีผลในปัญหาโลกร้อนอย่างถูกต้องตามหลักวิทยาศาสตร์โดยใช้วิศวกรรมมาช่วยปัญหาจึงเป็นอีกทางเลือกใหม่ที่จะทำให้โลกพ้นจากภัยพิบัติครั้งนี้

 

2.  ปัญหาโลกร้อน (Earth Warming Problems)

         เมื่อก่อน  30  ปีที่แล้ว  การปลูกต้นไม้นั้นง่ายมาก ปลูกอย่างไรก็ขึ้น ฝนฟ้าตกตามฤดูกาล  ชุ่มชื้น  อากาศไม่ร้อนจัด  แต่ปัจจุบันนี้เริ่มแห้งแล้งแดดจัด  ปลูกต้นไม้ต้องดูแลอย่างดี มิเช่นนั้นตายหมด และอนาคตก็จะยากขึ้นเรื่อยๆ จากภาวะโลกร้อน

               เมื่อ  30  ปีก่อนจำได้ว่าทำงานราชการอยู่ไม่มีแอร์เลยสักตัวมีแต่พัดลม ต้องมีหินทับกระดาษกันลมพัดปลิว  เดี๋ยวนี้อยู่ไม่ได้  ใช้แอร์กันหมดทั้งสำนักงาน

               อีกเช่นกันเมื่อ  30  ปี  ที่แล้วขับรถยนต์ ปิกอัพเปิดหน้าต่าง  ไม่มีแอร์ก็ยังขับได้  เดี๋ยวนี้รถทุกคันต้องติดแอร์

               เมื่อ  30  ปีที่แล้วเคยท่องจำว่าประชากรคนไทยมี  20  ล้านคน  เดี๋ยวนี้  60  ล้านคน  ราคาทองคำแค่  400  บาท/บาท  เดี๋ยวนี้  12,000  บาท/บาท  ราคาบ้านแค่  100,000  บาท  เดี๋ยวนี้  6-10  ล้านบาท/หลัง  เคยจำได้ว่าถ่านหินจะมีใช้ได้  200  ปี  เดี๋ยวนี้บอกว่าเหลือแค่  50  ปี

               นี่แค่  30  ปี  ผ่านมาในยุคมนุษย์กึ่งพุทธกาล  (2500)  ได้ทำลายความสมดุลโดยการบริโภคอย่างไม่หยุดยั้ง จนทรัพยากรจะหมดในยุค  100  ปี  แห่งอายุขัยของเรา ทำไมมนุษย์เราจึงมีพฤติกรรมบริโภคแบบล้างผลาญเช่นนี้

 

3.  บทบาทการแก้ปัญหาโลกร้อน (Corrective Actions)

               มีการพูดคุยกันในระดับโลก  ระดับประเทศ  จนถึงกลุ่มข้าราชการ  เกษตรกรรม  อุตสาหกรรม  ประชาชนทั่วไป  แต่ดูเหมือนไม่จริงจังมากนัก ทำเป็นเพียงแค่แฟชั่นเพราะคิดว่าภัยยังไม่ใกล้ตัว ยังรอได้อยู่

 

 

 

4.  ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน (Impact from Earth Warming)

               ผลกระทบจากโลกร้อนมีหลายๆ  คนกลัวนักกลัวหนาว่า  จะเกิดผลกระทบดังนี้

         1.  น้ำแข็งขั้วโลกละลาย ทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นมาท่วมพื้นที่ดินที่ราบต่ำริมทะเล  อาจต้องอพยพย้ายถิ่นฐานใหม่

               2.  เกิดโรคระบาดและมีเชื้อโรคพันธุ์ใหม่ๆ  ที่ยากรักษา

               3.  อากาศร้อนขึ้นเรื่อยๆ  จนคนทนไม่ไหว ต้องตายไปบางส่วน

               4.  พืชพันธุ์สัตว์บางชนิดอาจสูญพันธุ์หรือหายไปจากพื้นที่ โดยเฉพาะหมีขั้วโลก  ปลาใต้น้ำแข็ง

               5.  เกิดสงครามมนุษย์เพื่อแย่งชิงทรัพยากรที่เหลืออยู่และแย่งพื้นที่ทำกิน

               6.  อายุคนสิ้นลงและเป็นมะเร็งได้ง่าย

 

5.  อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน (Causation)

               โลกร้อนเกิดจากภาวะเรือนกระจก  (Green  House  Effect)  เรือนกระจกนั้นเป็นเรือนเพาะชำปลูกต้นไม้ของฝรั่งเขา เมืองเราเปรียบเทียบอย่างนี้ไม่ได้ เพราะเรือนเพาะชำของเราเป็นห้องตะข่ายสแลน ไม่ใช่กระจก  ลองเปรียบเทียบกับรถเก๋งจะชัดเจนกว่า

               จอดรถเก๋งปิดกระจกเอาปรอทวัดอุณหภูมิทิ้งไว้จะพบว่าอุณหภูมิในรถจะสูงขึ้นเรื่อยๆ  ตามเวลา  ตัวรถจะร้อนอากาศในรถก็ร้อน หากมีเด็กถูกขังในรถเก๋งตากแดดไว้ เคยมีเด็กตายมาหลายครั้งแล้ว  ภาวะเช่นนี้เหมือนภาวะเรือนกระจก หากมีการแง้มกระจกลง  ภาวะอากาศร้อนในรถเก๋งก็จะเบาบางลง

               สิ่งของในรถเหมือนโลก คนอยู่ในรถก็เหมือนมนุษย์ทั่วไป ตัวกระจกและโครงหลังคาเปรียบเสมือนเรือนกระจก  หรือชั้นแก๊สโอโซนและแก๊สเรือนกระจกที่เป็นเปลือกห่อหุ้มโลกไว้

               ในขณะที่โลกเคลื่อนที่ไปในอวกาศเรื่อยๆ  โลกก็จะพาสิ่งหุ้มห่อนี้ติดตัวโลกไปด้วย  ไม่มีอะไรมาปัดเป่ากระแทกให้แก๊สหลุดออกไป ดังนั้นทั้งแก๊สโอโซนและแก๊สเรือนกระจกก็จะไปไหนไปกันกับโลก

               ช่องโหว่งโอโซนของโลกตรงกับออสเตรเลีย  ทำให้รังสีจากแสงอาทิตย์ทะลุเข้ามา รับรังสีเต็มๆ  เป็นอันตรายต่อสายตาและผิวหนัง

               บรรยากาศชั้นหุ้มห่อโลกมีทั้งชั้นโอโซนและชั้นแก๊สเรือนกระจกอยู่สูงกว่าเมฆฝน  น้ำฝนหมดสิทธิ์ที่จะไปชะล้างทำให้แก๊สกลายเป็นสารละลายตกลงสู่พื้นดิน

               โอโซนเป็นออซิเจน  3  เจอแก๊สเรือนกระจกที่ไม่มีออกซิเจนก็จะไปจับกับออกซิเจนหรือไปกินชั้นโอโซนนั่นเองทำให้ชั้นโอโซนทะลุ  ปกติชั้นโอโซนป้องกันรังสีได้ส่วนหนึ่งไม่ให้ตกมาที่พื้นดิน เหมือนฟิล์มกรองแสงติดกระจกรถยนต์  จุดที่ชั้นโอโซนทะลุก็คือบริเวณที่ฟิล์มกรองแสงหลุด  ชั้นโอโซนและแก๊สเรือนกระจกก็เหมือนกระจกรถยนต์ติดฟิล์มนั่นเอง  หากมีปริมาณพอดีๆ  แถวๆ  ความเข้มข้นไม่เกิน  400  PPM  ก็จะเก็บความร้อนให้โลกได้พอดีๆ  กับการดำรงชีวิตหากความเข้มข้นเพิ่มเป็น  650-1200  PPM  ก็จะเป็นเรื่องใหญ่เหมือนกระจกรถปิดสนิท ความร้อนเข้ารถแล้วออกไม่ได้  ความร้อนในตัวรถก็จะเพิ่มขึ้นอยู่รวดเร็วเหมือนอุณหภูมิโลก ในขณะนี้ร้อนมากๆ  แอร์ในรถยนต์ก็เอาไม่อยู่ เหมือนโลกตอนนี้น้ำแข็งขั้วโลกก็เอาไม่อยู่ ต้องยอมแพ้ละลายไปเรื่อยๆ 

 

6.  การเกิดภาวะโลกร้อน (Process of  Hot Climate)

               กระบวนการเกิดภาวะโลกร้อนเกิดจากความร้อนจากแสงอาทิตย์ส่องมาที่โลกเจอชั้นบรรยากาศที่เป็นชั้นเรือนกระจกก่อนบางส่วนของแสงเจอชั้นเรือนกระจกก็สะท้อนออกไปบางส่วนก็ทะลุเข้ามาภายในเรือนกระจกที่ห่อหุ้มโลก บางส่วนก็เจอช่องโหว่งชั้นโอโซนทะลุก็ผ่านเข้าเต็มๆ 

               ส่วนที่ผ่านชั้นแก๊สเรือนกระจกเข้ามาก็จะวิ่งทะลุมาชนผิวโลกที่เป็นของแข็งบางส่วนก็ซึมซับลงแผ่นดินแผ่นหินแผ่นน้ำต้นไม้อาคารสิ่งก่อสร้าง แล้วบางส่วนก็สะท้อนขึ้นสู่ท้องฟ้าจนชนชั้นเรือนกระจกบางส่วนก็ซึมออกไปบ้าง  ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของแก๊สเรือนกระจก หากเจือจางก็ซึมแทรกออกไปแค่ตอนนี้ความเข้มข้นสูงก็จะสะท้อนกลับมายังโลกอีก คือลงสู่ผิวของแข็งของโลกแล้วสะท้อนขึ้นบน  ซิ่งไปซิ่งมานี้แหละเป็นสาเหตุให้อุณหภูมิอากาศโลกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ  เหมือนความร้อนในเรือนกระจกในรถยนต์  ต้องเข้าใจประเด็นนี้ให้ดีเพราะอาจเป็นแนวทางวิจัยเพื่อแก้ปัญหาโลกร้อนว่า ทำอย่างไรให้แก๊สเรือนกระจกเจือจาง หรือทำอย่างไรให้อากาศร้อนทะลุออกไปได้

               การซึมซับความร้อนและแสงแดดมีอีกวงจรหนึ่งคือ  วงจรต้นไม้  ต้นไม้ใหญ่จะซึมซับแสงแดดโดยเฉพาะใบสีเขียวอีกส่วนก็ช่วยเอาแก๊สคาร์บอนไดออกไซค์  (CO2)  มาใช้ในการปรุงอาหารช่วยลดแก๊สเรือนกระจกลอยขึ้นสู่ชั้นเรือนกระจก

               แก๊สเรือนกระจกพวก  CO2  หากอยู่ใกล้พื้นโลกที่ยังไม่ทันลอยขึ้นฟ้าก็จะถูกพืชเอาไปใช้งานถูกฝนมีชะล้างกลายเป็นกรดคาร์บอนิคในสภาพสารละลายไม่ใช่แก๊ส  แก๊ส  CO2  เวลาไปเจอน้ำปูนใสก็จะจับตัวเป็นของแข็ง  CaCo3  ได้เป็นหินงอกหินย้อยนี่เป็นวัฎจักรแก๊ส ของแข็งและสารละลายของ  CO2

         แก๊ส  CO2  ที่อยู่ในรูปของแข็งก็มีอยู่ในต้นไม้  (เผาแล้วได้ถ่าน)  ในหินพวกเพชร  (C)  อยู่ในถ่านหิน  (C)  อยู่ในน้ำมันดิบ  (CHNO)  หากถูกเผาก็จะได้  CO2  เช่นกัน

               ดังนั้นการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลพวกถ่านหิน น้ำมัน จึงเป็นการเอาคาร์บอน  C  ที่อยู่ใต้โลกมาใช้ โดยปกติก็ใช้หมุนเวียนกันบนโลกจากการเผาป่าเผาไม้ฟืนเปรียบเสมือนมาใช้เป็นการใช้เงินสดหมุนเวียนไม่ใช่เอาเงินจากเงินฝากธนาคาร

               นอกจากนี้จากการละลายน้ำแข็งที่มีอายุนับล้านปีในแถบขั้วโลกก็มีการสะสม  CO2  เหมือนเครื่องดื่มอัดแก๊ส ฝังอยู่ในก้อนน้ำแข็งเช่นกัน  เมื่อน้ำแข็งขั้วโลกละลายก็จะปลดปล่อย  CO2  เข้าสู่ชั้นบรรยากาศที่เป็นเรือนกระจกอีกด้วย

 

7.  แก๊สเรือนกระจกมาจากไหน (Gases  Source)

               แก๊สเรือนกระจกมีมาจาก  2  ทาง  คือมาจากธรรมชาติและจากมนุษย์ทำให้เกิดขึ้น

               แก๊สเรือนกระจกจากการสลายตัวธรรมชาติ

               -  ไฟไหม้ป่าเกิด  CO2  ลอยขึ้นสู่ท้องฟ้า

               -  การละลายน้ำแข็งขั้วโลกปล่อย  CO2  ที่เก็บกักไว้

               -  การใช้ปุ๋ยเคมีในการเกษตรพวก  N  เกิดการระเหยในรูปของ  N2O 

         -  นาข้าว  น้ำขัง  ฟาร์มปศุสัตว์ ซากไม้ทับถม แหล่งถ่านหินที่มีแก๊สรั่วออกมาจะเกิดแก๊สมีเทน  CH4  ลอยขึ้นสู่ท้องฟ้า

               แก๊สเรือนกระจกจากการทำของมนุษย์ทางตรง

               -  การเผาไหม้เชื้อเพลิงเกิด  CO2  ปล่อยทางปล่องควันของโรงงานอุตสาหกรรม

               -  การเกิดมีเทน  CH4

         -  ไนตรัสออกไซต์  N2O

         -  ไฮโดรฟลูออร์ไรคาร์บอน  HFCS

         -  เปอร์ฟลูออร์โรคาร์บอน  PCFS

         -  ซัลเฟอร์เฮกซาฟลูออไรต์  SF6

 

8.  การจัดการแก๊สเรือนกระจก (Green House Effect Management)

               มาตรการด้านการจัดการแก๊สเรือนกระจกมีดังนี้

               1.  ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการเผาเชื้อเพลิงหาทางกำจัดหรือลดโดยใช้เครื่องอุปกรณ์ดักจับหรือทำปฎิกิริยา  การใช้พลังงานอย่างประหยัด

         2.  หาทางทดแทนการใช้งานที่จะเกิดโดยใช้สารที่ไม่ใช้แก๊สเรือนกระจก  เช่นสารทำความเย็นในเครื่องปรับอากาศ  การใช้พลังงานที่ไอเสียไม่เกิดแก๊สเรือนกระจก  เช่นไฮโดรเจน  น้ำ ลมนิวเคลียร์  (?)  แสงอาทิตย์  ความร้อนใต้พิภพ  คลื่นพลังงานชีวะ

               3.  หามาตรการดักจับแก๊สเรือนกระจกระดับต่ำเหมือนต้นไม้ใหญ่ใช้  CO2  มาใช้งานโดยการปลูกต้นไม้ที่มีประสิทธิภาพดักจับมากๆ  หรือสร้างอุปกรณ์ดักจับ  CO2

         4.  หามาตรการดักจับแก๊สเรือนกระจกที่ระดับเหนือชั้นเมฆฝนปกติเครื่องบินจะปล่อย  CO2  จากไอเสียระดับสูงกลายเป็นปล่อยสารขจัดแก๊สเรือนกระจกหรือพ่นโอโซนใส่ชั้นบรรยากาศ

               5.  หามาตรการล้างกระจกที่ชั้นบรรยากาศโดยใช้มาตรการทางเคมี  ยานอวกาศ  ยานบิน  การปล่อยจากระดับพื้นขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ

               6.  การหาทางกำจัดแก๊สเรือนกระจก  โดยเฉพาะ  CO2  โดยอัดไปเก็บในชั้นใต้ดิน เก็บกักเอาไว้ในถังความดันหรืออุโมงค์ใต้ดิน แต่ระวังการรั่วไหลในอนาคต ขณะเกิดแผ่นดินไหว

               7.  หาทางการทำให้แก๊สเรือนกระจกแปรสภาพจากแก๊สเป็นของแข็งหรือสารละลายของเหลว  เช่นน้ำปูนใสใสใน  CO2 

                              CO2 + CaOH  ----à  CaCO3

8.  โครงการประหยัดพลังงานต่างๆ  ที่สร้างแก๊สเรือนกระจก  ไม่ว่าจะเป็นอาคารประหยัดพลังงานอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า  รถไฟฟ้า  ฝึกให้คนมีนิสัยประหยัด  ลดการบริโภคนิยมที่เชื่อมโยงไปถึงแก๊สเรือนกระจก ตลอดจนประดิษฐหรือใช้อุปกรณ์ที่ไม่มีขนาดโตเกินจำเป็น

9.  ควรประดิษฐยานที่ใช้ไฟฟ้าเพื่อลดการเผาไหม้แล้วเกิด  CO2  ที่ท่อไอเสียแล้วปล่อยไปทั่ว เพราะพลังงานไฟฟ้ามีที่มาจากลม  ปฎิกริยาเคมี  ความร้อนใต้พิภพ  น้ำตก  แสงแดด ชีวพลังงาน

10.  ค้นหาเทคโนโลยีที่ปฎิบัติได้คุ้มค่ามาใช้ในการเก็บเกี่ยวฟางหญ้าไม้พุ่ม เอามาเป็นเชื้อเพลิงโดยไม่เผาทิ้งหรือปลูกพืชโดยไม่ต้องเผา  ลดปัญหาควันไฟป่า เต็มท้องฟ้าหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยว

 

9.  บทบาทภาครัฐ  (Government Role)

         จากปัญหาภาวะโลกร้อนระดับโลกก็มาเป็นระดับประเทศนั่นคือต้องมีบทบาทดังนี้

               1.  ความร่วมมือระดับโลก  วางภาพรวม  วางเป้าหมาย  แบ่งงานเป็นส่วนๆ  กระจายแบ่งงานกันทำในระดับประเทศ

               2.  ส่งเสริมโครงการประหยัดพลังงานตั้งแต่ระดับรากหญ้า  พ่อค้า  ธุรกิจ  อุตสาหกรรม  ตามมาตรการภาษีการให้ความรู้   ส่งเสริมรายได้การเก็บภาษีเพิ่มตามขนาดกระบอกสูบเครื่องยนต์

               3.  ทำวิจัย  ให้ทุน  ขยายผล  ให้ครอบคลุม

               4.  ปลูกพืชพลังงานให้มากๆ  ได้ทั้งป่า  อาหาร  เชื้อเพลิงแข็ง  เชื้อเพลิงน้ำมัน

               5.  ส่งเสริมพฤติกรรมประหยัดทุกรูปแบบตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

               6.  ใช้การขนส่งมากๆ  (mass  transportation)  เช่นรถไฟฟ้า  แทนรถยนต์ส่วนตัว

               7.  ออกแบบวางผังเมืองที่ประหยัดพลังงานด้านการระบายลม  การเดินทางที่น้อย  ผังเมืองกระจาย  ไม่รวมกระจุก  มีงานทำทั่วไปไม่กระจุกแต่ในตัวเมือง  หรือเฉพาะเมืองหลวง

               8.  ปรับปรุงระบบขนส่งสินค้า  (Logistic)   ให้ขนส่งมากๆ  ต้นทุนถูกๆ  เช่น  เรือ  รถไฟ  หรือถนน  ที่แข็งแรง  (บรรทุกเท่าไร  ถนนก็ไม่พัง)

               9.  แก้ปัญหารถติดให้ได้เพราะใช้พลังงานเปลืองมาก

               10.  ส่งเสริมการใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน #  5 

               11.  ปลูกต้นไม้ที่ให้ออกซิเจนมากๆ  ใครปลูกมากก็ลดภาษีได้

               12.  ส่งเสริมการเดินทางด้วยจักรยาน  โดยจัดเส้นทางโดยเฉพาะ

               13.  ภาครัฐอาจจัดให้มีจักรยานปั่นไฟฟ้าสายพานวิ่งปั่นไฟฟ้ามือโยกปั่นไฟฟ้าวางตามสถานที่ต่างๆ ให้ประชาชนมาปั่นไฟฟ้าแล้วแลกกับเงิน  ปั่นเสร็จมีเงินจ่ายค่าปั่นออกมาจากตู้

               14.  สร้างเสริมอาคารประหยัดพลังงานวัสดุประหยัดพลังงานอาคารใช้เครื่องปรับอากาศ

               15.  รณรงค์อย่ามีลูกมากเป็นการเพิ่มประชากรที่จะใช้พลังงานมาก

 

10.  บทบาทวิศวกรตามภารกิจหน้าที่ (Engineer Role)

               วิศวกรมีบทบาทมากในภาวะโลกร้อนเพราะมีงานหลายๆ  ด้านที่เกี่ยวข้องดังนี้

              

1.  งานวิจัยและพัฒนา (Research and Development )

               นิยามปัญหา  ค้นหาวิธีการ  หาหลักการปรับปรุงแก้ไข  การประยุกต์ใช้งาน  โดยใช้หัวเรื่อง ลดปัญหาโลกร้อนในการจัดการแก๊สเรือนกระจก

2.  งานออกแบบ (Design)

               งานออกแบบในมุมลดภาวะโลกร้อนโดยการออกแบบให้เครื่องจักรมีประสิทธิภาพ ลดการใช้พลังงาน กำหนดมาตรฐานแบบเพื่อป้องการการออกแบบที่สิ้นเปลือง การใช้วัสดุที่ไม่เกิดแก๊สเรือนกระจกในเรื่องวัสดุที่ทำและพลังงานที่ใช้ตลอดจนออกแบบให้ใช้วัสดุทดแทนเชื้อเพลิงสะอาดมาใช้งานได้  หรือออกแบบเพื่อป้องกันการใช้งานที่ทำให้เกิดแก๊สเรือนกระจก  การออกแบบใช้พลังงานจากแรงโน้มถ่วงให้เกิดประโยชน์จากความรู้  ความชัน  ความลึก  การได้เปรียบเชิงกล

3.  ดูแล (Monitoring)

         งานวิศวกรรมมีต้องดูแลให้เครื่องจักรมีประสิทธิภาพอาจใช้วิธีการดูแลที่ดี  (TPM)  การเฝ้าระวังจัดผลและแก้ไขให้ดี  การเลือกใช้อะไหล่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม  กำหนดหลักการพิจารณาสินค้ารับรองสินค้าที่ไม่สร้างภาวะเรือนกระจกเพิ่มขึ้น

4.  การควบคุม (Control)

               การควบคุมการติดตั้ง  กระบวนการผลิตเพื่อไม่ให้เกิดของเสีย  (Loss)  การลดการปล่อยของเสีย  การเอาของเสียมาใช้ประโยชน์ทดแทนวัตถุดิบ

5.  การส่งเสริม (Promotion)

         การให้ความรู้ภาคประชาชน  ผู้บริโภคให้เข้าใจถูกต้อง  การชวนเชิญมาต่อสู้กับภาวะโลกร้อนในฐานะลูกค้า  โดยคัดเลือกซื้อสิ่งที่เป็นมิตรกับโลกมาใช้งานและลดละเลิกสินค้าที่ทำลายโลกหรือสร้างแก๊สเรือนกระจก

 

11.  บทบาทวิศวกรตามสาขาวิชาชีพ (Engineering Fields)

วิศวกรเหมืองแร่

               -  ลดระยะทางขนส่งในการออกแบบ

               -  ปลูกต้นไม้ฟื้นฟูมากๆ  ควบคู่การทำเหมือง

               -  ปลูกต้นไม้ให้พลังงานทดแทนเชื้อเพลิงและน้ำมันในรูปของถ่านความร้อนสูงทดแทนถ่านหินและน้ำมันไบโอดีเซลทดแทนน้ำมันดีเซล

               -  ใช้วัสดุน้ำมันเหลือใช้กลีเซอรีนมาทดแทนน้ำมันดีเซลในการผสมปุ๋ยระเบิดหิน

               -  ผลักดันใช้งานไบโอดีเซลกับเครื่องจักรกลหนัก

               -  ใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน

               -  ออกแบบโรงงานย่อยหินโดยใช้ความชัน  ความสูงให้เกิดการประหยัดวัสดุก่อสร้าง  พลังงานในการผลิต

               -  วิธีปรับปรุงลดปริมาณวัตถุระเบิดต่อตันหินเพื่อลดการปล่อยแก๊สสู่บรรยากาศ

วิศวกรอุตสาหการโรงงาน

         -  สร้างโรงปั่นไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนเหลือใช้  (Waste  Heat  Generator)

            -  การใช้วัสดุทดแทนและเชื้อเพลิงทางเลือก  (Alternative  Fuel  and  Raw  Material)  มาใช้ในโรงงาน

               -  ลดการปล่อยควัน  CO2 , NOx  จากปล่องควันโดยการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ หาอุปกรณ์ดักจับที่ทรงประสิทธิภาพ

               -  ดักจับแก๊สลงสู่น้ำให้กลายเป็นของแข็งหรือสารละลาย

               -  หากระบวนการผลิตที่ลดอุณหภูมิในการเผาการหลอมเหลว  เช่นการใช้  CaF  ลดจุดหลอมเหลว

               -  ดูแลควบคุมการผลิตให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

วิศวกรเคมี

         -  หาสารดักจับแก๊สเรือนกระจกก่อนปล่อยออกทางปล่องควัน

               -  หาวัสดุทดแทนแก๊สเรือนกระจกมาใช้ในกระบวนการผลิต

               -  ลดการผลิตพลังงานที่ทำให้เกิด  CO2 

         -  หาพลังงานที่ไม่เกิด  CO2  อาจเป็น  H2  มาใช้เป็นพลังงาน

               -  วิจัยหาวิธีล้างชั้นบรรยากาศล้างแก๊สเรือนกระจก

วิศวกรโยธา

         -  อาคารประหยัดพลังงาน

               -  อิฐฉนวนประหยัดพลังงาน

               -  ถนนแข็งแรงรับน้ำหนักมากๆ  บรรทุกมากๆ   โดยไม่พังง  ราคาก่อสร้างถูกๆ 

               -  การทำถนนรีไซเคิล

               -  การก่อสร้างที่ประหยัดพลังงานไฟฟ้าและน้ำมัน

               -  ออกแบบการก่อสร้างอาคาร  แบบอาคาร  ที่วัสดุมีที่มากการผลิตมีการปล่อยแก๊สเรือนกระจกน้อยที่สุด  อาจเป็นบ้านดิน  บ้านหิน  จนถึงอาคารใหญ่ๆ 

               -  ทำทางเจาะอุโมงค์ลดระยะทางถนนวิ่ง

วิศวกรไฟฟ้า

               -  เพิ่มความสูงเสาไฟฟ้าจะได้ไม่ตัดต้นไม้ใต้สายไฟฟ้าจนไม่รู้จักโต

               -  ปั่นไฟฟ้าจากระบบพลังงานที่ไม่เกิดแก๊สเรือนกระจก  เช่นจากน้ำทะเล  ไฮโดรเจน  น้ำตก  ความร้อน  ใต้พิภพ

วิศวกรเครื่องกล

               -  ออกแบบล้อรถยานพาหนะรับแรงได้มากๆ  จะได้วิ่งได้น้อยเที่ยว  ลดการใช้พลังงาน

               -  ออกแบบเครื่องมือเก็บเกี่ยวหญ้าฟางต้นไม้ในทุ่งนาไร่แทนการเผาทิ้งแต่เอามาขายได้

               -  ออกแบบเครื่องยนต์ให้สันดาปสมบูรณ์

               -  ทำอุปกรณ์ดักจับความร้อนเอามาใช้งานใหม่หรือเอามาปั่นไฟฟ้า

วิศวกรสิ่งแวดล้อม

               -  ศึกษาธรรมชาติวิธีในการลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก  หรือแก๊สชนิดใหม่ที่ไปกำจัดแก๊สเรือนกระจกในท้องฟ้า

               -  หาวิธีชะลอการละลายของน้ำแข็งขั้วโลก

               -  ค้นหาวิธีจับควันปล่องโรงงานอุตสาหกรรม

               -  จัดสมดุลย์การลดแก๊สเรือนกระจก

               -  วิจัยการอุดช่องโหว่งชั้นโอโซน

วิศวกรเครื่องบิน

         -  ออกแบบเครื่องยนต์ที่ลดการปล่อยไอเสีย  CO2

         -  ค้นหาวิจัยเชื้อเพลิง  H2  มาใช้งานแทน

               -  ค้นหาเทคนิคการใช้เครื่องบินปล่อยสารล้างแก๊สเรือนกระจกขณะทำการบินไปด้วย

วิศวกรคอมพิวเตอร์

               -  ออกแบบระบบควบคุมการเผาไหม้ให้สมบูรณ์

               -  จัดทำฐานข้อมูลการต่อสู้กับภาวะโลกร้อน

วิศวกรเกษตร

               -  ออกแบบเครื่องจักรกลเพื่อทดแทนการใช้สารเคมีเช่นอุปกรณ์ตากแห้งด้วยแสงแดด

               -  การใช้ไบโอดีเซลในงานเกษตรกรรม

               -  เทคนิคการเก็บเกี่ยวเชื้อเพลิงชีวมวลมาใช้ทดแทนถ่านหิน

วิศวกรวัสดุศาสตร์

               -  ถุงพลาสติกจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่จากปิโตรเลี่ยม

               -  ออกแบบวิสดุทนทานจะได้ไม่ต้องมาหล่อหล่อมใหม่สิ้นเปลืองพลังงาน

 

12.  บทส่งท้าย (Finally)

               จะเกิดอะไรขึ้นหากอุณหภูมิโลกร้อนขึ้นอีก  5-6  องศา  ซ.ในอนาคตเป็นสิ่งที่น่าคิด คงมีภัยพิบัติตามมาอีกหลายอย่าง  การแก้ไขอย่าคิดแค่บรรเทาหรือชะลอการเกิด  แต่ควรคิดที่จะแก้ให้ตรงการสาเหตุด้วย  โดยหลายๆ  ฝ่ายมาช่วยๆ  กัน  โดยเฉพาะทางด้านวิศวกรรมจะช่วยได้มาก  สิ่งที่ฝากไว้อีกเรื่องเอาไว้เป็นข้อคิดวิกฤติและโอกาส  หากน้ำแข็งขั้วโลกละลายมีอะไรบ้าง จะทำให้เส้นทางการเดินเรือสั้นเข้า   เป็นแหล่งทรัพยากรน้ำมัน ที่จะมาช่วงชิงกันต่อ

บริหารเชิงผลิภูมิปัญญา
Management by Budding Wisdom

สมหวัง  วิทยาปัญญานนท์

20  เมษายน  2551


วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2554

Industrial engineer as a project manager

There are several types of industrial engineering jobs, each with a specific set of responsibilities and goals. Whether working as a project manager, strategic planner, or process developer, industrial engineers look to improve systems and methods so that costs are reduced and safety issues are addressed. Industrial engineers typically examine the aspects of a particular problem and figure out innovative solutions. Most industrial engineering jobs are in the manufacturing or service sectors, including construction, aerospace, shipping, and entertainment. A knowledge of engineering as well as business is generally required to be successful as an industrial engineer.

Industrial engineers who work as project managers typically form and direct a team to accomplish a set of objectives. The project manager assigns responsibilities to each member of the team and establishes a deadline for completing the tasks. As the team works, the industrial engineer project manager oversees the progress and allocates resources as needed. If problems arise during the implementation of a plan, the project manager will conduct an investigation to determine the best solution.

Source: http://www.wisegeek.com/m/what-are-the-different-types-of-industrial-engineering-jobs.htm

From IE to Climate Change-by Brandt, David

Pachauri earned a doctorate in industrial engineering in 1974 and then a doctorate in economics from the university, leading him to a faculty post in the department of economics and business. He spent a year in 2000 as a McCluskey Fellow at the School of Forestry and Environmental Studies at Yale University. He has written 23 books, as well as several papers and articles.

Pachauri said his background in industrial engineering has helped him understand the role of technology - how it can be developed and deployed. He said that technology plays a large part in how other industrial engineers can participate in preventing continued global warming. The ability to develop and manufacture devices embodying eco-friendly technology at costs that would make them marketable will likely be the greatest challenge for industrial engineers, he said. Project management is another area where Pachauri said engineers can implement a green mindset.

If we want to bring about the shift from current infrastructure, equipment, and technology - something that would be small and carbon-friendly - then industrial engineers will have an important role in translating those concepts into actual results on the ground," he said.

. . . . .
"We're all inhabitants of spaceship Earth," Pachauri said. "Anything that happens at any part of the globe has implications for all of us and we need to start thinking along those lines."

"To the limited extent that I can help to bring about a shift in thinking, I'm certainly going to do that."

Copyright Institute of Industrial Engineers Sep 2007


Source: http://findarticles.com/p/articles/mi_hb6606/is_200709/ai_n32239313/

วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ERASMUS MUNDUS Masters in Complex Systems

Complex systems science - the essential 21st Century science

The potential impact of this new Complex Systems Science appears in four ways (i) a better understanding of
many complex systems and their dynamics to support the pressing needs to engineer and manage complex
systems, e.g. cancer, multinational companies, drugs, transport, and climate change; (ii) better control of the
means of fabrication as dynamic complex socio-technical systems, e.g. new processes and materials, multi-site
factory production, and supply chain dynamics, (iii) a better understanding of the complex environment in
which engineered systems exist, e.g. regulation, ethics, markets; and (iv) a better understanding of the design,
engineering and management process which is often itself a creative complex multilevel complex human
system, capable of great successes but inherently liable to spectacular failures.

Full application including transcript and reference letters should be received by our final deadlin of 17 Jan 2011 MORE DETAIL . To achieve this in good time we advise you to submit your application no later than 4 Jan 2011.
UNIVERSITY OF WARWICK , United Kingdom (Coordinating institution)

ECOLE POLYTECHNIQUE, France

CHALMERS UNIVERSITY OF TECHNOLOGY, Sweden

UNIVERSITY OF GOTHENBURG, Sweden

in association with the COMPLEX SYSTEMS SOCIETY.

วันพฤหัสบดีที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2554

Five Lessons I Learned at Starbucks

Five Lessons I Learned at Starbucks
Written by Mark Tewart

วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2554

"อาจารย์ขา หนูแก้ปมของตัวเองไม่ออกซักทีค่ะ เฮ้อ" _Facebook

ช่วงนี้เครียดๆ เนืองๆ ซึมๆ ก็เลยไปลงที่ "แก้วสีทอง" ทั้งที่รู้ทั้งรู้ว่ามันเป็นแค่ความสุขที่ฉาบฉวย

มีปมในใจ แก้ปมนั้นให้ตัวเองไม่ได้ซักที คิดให้หัวระเบิดก็.........ไม่ได้คำตอบ

ว้าวุ่นๆ ฟุ้งซ่าน คุยกับนโน้น คนนี้ แต่ก็ไม่ได้ช่วยคลายความเหงาลง ........เป็นอะไรหะ เป็นอะไร ทั้งที่เมื่อก่อน ชอบที่จะอยู่อย่างสันโดษ ชอบให้เวลากับตนเอง ชอบที่จะอยู่กับตนเอง
แต่ตอนนี้ วิ่งหาคน วิ่งหาสิ่งของ เยอะแยะ เรื่องเยอะ เฮ้อ

เช้านี้ตื่นมานั่งเตรียมตัวอ่านข้อมูลสำหรับไปสัมภาษณ์งาน อ่านเสร็จเล่นเฟสบุ๊ค ฟังเพลงที่ ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ โพสท์เอาไว้

ทิ้งคอมเมนท์จากใจจริงไว้ให้อาจารย์ว่า "อาจารย์ขา หนูแก้ปมของตัวเองไม่ออกซักทีค่ะ เฮ้อ" ด้วยความหวังเล็กที่อยากระบายความคิดออกไปเท่านั้น
กลับพบว่า อาจารย์ ดร.วรภัทร์ ตอบกลับมาในทันที่ (หนุล่ะเคารพอาจารย์มากเลยค่ะในความเอื้อเฟื้อต่อทุกคน และความไม่ถือตัวตน) ว่า "ปม มาจาก ความคิด มันฝังแน่นลงไป ยิ่งคิดถึงมัน มันยิ่งแน่น เหมือน กาวดักหนู ___ หาอะไร มันๆ ทำ ปลูกมัน ทำไร่มัน มันกระถาง มันริมรั้ว มันในถุงดิน ทำมันแจก ___ ฝึกการให้ๆๆๆๆๆๆ"

อยากให้อาจารย์รู้จังว่าคำตอบที่อาจารย์ ดร.วรภัทร์ หยิบยื่นมา นั้นมีพลังตอหนู วันนี้มีความพลังใจต่อไป ขอให้อาจารย์จงเจริญ เย้ๆ

วันเสาร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

คุณคิดว่า คุณมีนิสัยคล้ายตัวอะไรที่สุด : หมี หนู อินทรี วัว

คัดลอกมาแบ่งปันจาก www.managerroom.com (ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ)

คุณคิดว่า คุณมีนิสัยคล้ายตัวอะไรที่สุด : หมี หนู อินทรี วัว

คนดอย เอากิจกรรมฝึก Dialogue มาอวด คือ การฝึก ย้อนเข้าไปทบทวนตนเอง สะท้อน (reflection) ด้วยการถามว่า คุณคิดว่าคุณมีลักษณะใกล้เคียงกับเป็นสัตว์แบบไหน (ไม่ให้ ดูกันที่รูปร่าง ท่าทางนะครับ)

หมี : ธาตุดิน นักคิด รอบคอบ ตรวจสอบ มีกฏเกณฑ์ ชอบควบคุม

หนู : ธาตุน้ำ นักประสาน อ่อนโยน ปรับตัวง่าย เน้นเรื่องใจ คุยเก่ง ชอบประสาน

อินทรี : ธาตุลม นักวางแผน คิดนอกกรอบ เชื่อมโยง อิสระเสรี ชอบเรื่องแปลกใหม่

วัว : ธาตุไฟ นักปฏิบัติ ต่อสู้กับอุปสรรคต่างๆจนงานสำเร็จลงได้ ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ชอบทำ


การสนทนา ครั้งนี้ มีหลายรอบ

รอบแรก จะแบ่งออกเป็น ๔ กลุ่ม โดยให้คนที่คิดว่าตนเองเป็นแบบสัตว์ชนิดเดียวกัน อยู่ในกลุ่มสนทนาเดียวกัน

รอบที่สอง คือ ให้แต่ละวงสนทนา มี คนที่คิดว่าตนเองเป็นสัตว์ต่างๆอยู่ปนกัน พยายามให้ครบทั้ง ๔ ชนิดในแต่ละกลุ่ม และ ก็พูดทีละคนเช่นเดิม ว่าทำไมคิดตนเป็นแบบสัตว์นั้นๆ

รอบสาม จะล้อมเป็นวงใหญ่ วงเดียวกันทั้งห้อง ทำ AAR เพื่อ สะท้อนสิ่งที่ค้นพบ (Findings) และ ความรู้สึก (Feelings) จากสนทนาทั้งสองรอบที่ผ่านมา



ผมว่าหลายท่าน อาจจะเคยผ่านกิจกรรมนี้ เพราะ ไม่ใช่เรื่องใหม่อะไร แต่ พอเอาหลักการ ฟังเชิงลึกไปใช้ คือ ตอนที่แต่ละท่านในวงสนทนากลุ่ม ได้พูด ได้สะท้อนทีละคน (จับแท่ง Indian stick) ถึงว่า ทำไมเขาคิดว่าเขามีลักษณะนิสัยคล้ายสัตว์แบบนั้น ช่วงนี้แหละสำคัญมาก ซึ่งความสำคัญนี้ อยู่ที่ การฟังครับ ไม่ใช่การพูด ผู้ฟังที่ฝึกตามดูจิต ตามดูความคิดเป็น จะเห็น จะรู้เท่าทัน “เสียงภายใน” ที่ผุดขึ้นมา ทั้งคล้อยตาม ทั้งย้อนมาดูตนเอง เราเป็นอย่างนั้นหรือเปล่า ทั้งต่อต้าน ทั้งคันปากอยากจะเสริม อยากจะค้าน ฯลฯ

การทำ Dialogue ในมุมมองของผม คือ การฝึกดูจิต ตามแนว มหาสติปัฏฐาน ๔ นั่นเอง

ฟังอย่างมีสติ เอาสติไปฟัง อย่าปล่อยให้ความคิดมีอิทธิพลทำให้จิตเกิดอาการ และ ในทางกลับกันอย่าปล่อยให้จิตที่เกิดอาการแล้วผลิตความคิดที่ไม่ มีประโยชน์ออกมา เช่น วิตก กังวล วิพากษ์ วิจารณ์ อคติ ลำเอียง เพ่งโทษ ยินดี ฯลฯ

การเงียบฟัง ข่มตนเองไม่ให้สอดแทรก แต่ จิตกำลังเกิดอาการอยู่ ไม่ว่าจะเป็นกุศล หรือ อกุศลก็ตาม จิตที่เกิดอาการนี้กำลังไปทำให้มีความคิดแบบปรุงแต่ง อคติ เพ่งโทษ ดูหมิ่น ยินดี ฯลฯ เกิดขึ้นมากมาย แม้นภายนอก จะดูเป็น คนๆนี้เป็นนักฟังที่ดี แต่ ภายในร้อนรุ่ม ดำมืด หรือ ปลาบปลื้ม แบบนี้ ก็ไม่เรียกการสนทนานี้ว่าเป็น Dialogue ครับ

ส่วนใหญ่จะทนไม่ได้ เผลอสอดแทรก เกิด “ตัวอยาก” “ตัวไม่อยาก” ผุดขึ้นมา แต่ รู้ไม่ทัน หรือ รู้ทัน แต่ อดไม่ได้ ข่มไม่ได้

คุณภาพ หรือ ประสิทธิผล ในการสนทนา จึงอยู่ที่ ฟังอย่างมีสติหรือไม่ ถ้ามีสติจริง จิตจะว่างๆ เบาๆ สบายๆ ไม่มีความคิดอคติ ไม่มีลำเอียง ไม่มีวิตก กังวล ไม่มีวิพากษ์ วิจารณ์

การฟังอย่างเชิงลึก ในมุมมองของผม คือ มีสติ จิตปกติ ลมหายใจสบายๆ กล้ามเนื้อสบายๆ หรือ จะใช้คำว่า “ตื่นรู้” ก็ได้ คือ รู้เท่าทันจิต รู้เท่าทันความคิด

รู้เท่าทันในที่นี้ คือ รู้แล้ว “วาง”ได้ ทำจิตให้ว่างๆได้ นั่นเอง ไม่ใช่ ตื่นรู้ แต่ ข่มไม่ลง วางไม่ได้ และ หมดเวลาไปกับการข่ม จนลืมฟังว่าเขาพูดอะไร

การฝึกสนทนาแบบ Dialogue นี้ สามารถช่วยให้ เข้าใจชัดเจนมากขึ้นว่า “จิต กับ ความคิด” เขาทำงานร่วมกันอย่างไร แล้วเราจะแยกแยะเขาออกจากกันได้อย่างไร

ผมใช้คำว่าแยกแยะ ไม่ใช่ แยกขาดนะครับ อุปมา เชือกเกลียว ถ้าเรามองดูไกล เราจะเห็นว่าเป็นเส้นเชือกเส้นเดียว แต่ ถ้าดูให้ดีๆ จะพบว่า มีสามเส้นครับ คือ จิต สติ ความคิด

ใครแยกแยะ “จิต - สติ - ความคิด” ได้ ก็ จะค้นพบ สัมมาทิฏฐิ ทันที เมื่อสัมมาทิฏฐิเปิดออกแล้ว สัมมาอื่นๆ ในมรรคมีองค์แปด จะไหลตามมาได้โดยง่าย

คำว่าแยกจิต สติ ความคิดนี้ ไม่ใช่ แยกจิต แบบ นักนั้งสมาธิ แยกจิตออกจากร่าง จิตออกไปเที่ยวนรก สวรรค์ที่ไหนนะครับ แต่ เป็นแยกแยะ รู้ เข้าใจ ว่า “จิต และ ความคิด” ทำงาน และ สัมพันธ์กันอย่างไร

หลังการทำกิจกรรม Dialogue นี้แล้ว ผมก็ค้นพบเอาเองว่า

สัตว์ทั้ง ๔ อย่างนี้ เป็นตัวแทน ของ หน้าต่างทั้ง ๔ บาน ในวงจรโนนากะ (คุย คิด คลิก คลำ) โดย

· หนู คือ การ “คุย” การเข้าสังคม การพูดคุย การเปิดหู เปิดตา เปิดความคิด เปิดใจ เก็บความต้องการ โทษตนเอง รักพวกพ้อง เน้นความสัมพันธ์

· หมี คือ การ “คิด” การพิจารณาใคร่ครวญ การตรวจสอบ การเชื่อมโยงกับความรู้เดิม การรอบคอบต่อข้อมูลใหม่ รอบคอบ เน้นความถูกต้อง เปลี่ยนแปลงช้า

· อินทรี คือ การ “คลิก” การตกผลึกความคิด การเกิดความเชื่อส่วนตัวที่รอการพิสูจน์ เกิดเป็นวิสัยทัศน์ มองภาพรวม มองภาพไปข้างหน้า โครงการที่จะต้องเกิดขึ้น ชอบเรื่องประหลาดใจ รักอิสระ

· วัว คือ การ “คลำ” การลงมือทำ การเปิดแรงบันดาลใจ (Open will) ที่จะทำ เพื่อยืนยัน พิสูจน์ ทำวิสัยทัศน์ให้เป็นจริง กัดไม่ปล่อย

ผมเชื่อว่า ถ้าเราสามารถผลักดันตัวเรา ผลักดันผู้เรียน ให้หมุนวนไปตาม วงจรโนนากะ เป็นสัตว์ทั้ง ๔ ชนิดได้ครับบ่อยๆ หลายๆรอบ เราจะได้ความรู้มากมาย ทั้ง tacit และ explicit

เมื่อทำ AAR แต่ละคนในกลุ่มให้ แนวคิดแตกต่างกัน เช่น

· พวกฝ่ายบุคคล จริงๆแล้ว ควรจะเป็นหนู แต่ เอาเข้าจริง กลายเป็น หมี หมีไม่ดีสะด้วย

· แผนกต่างๆ ทำตัวแบบสัตว์ต่างๆ แบ่งแยกกัน ไม่คุยกันดีๆ จึงทำให้องค์กรขาดพลังในการขับเคลื่อนสิ่งดีๆต่างๆออกมา

· คนเราถูก สภาพแวดล้อม สังคม การเลี้ยงดู สถานศึกษา สถาบัน เพื่อนฝูงที่คบ ฯลฯ ตลอดจนลักษณะทางกรรมพันธุ์ รวมไปถึง กรรมเวรและ ดวงชะตา ทำให้ออกมาเป็นลักษณะแบบนั้นๆ ถูกหล่อหลวมออกมา จน ไม่เป็นตัวตนที่แท้จริง สวมบทบาทนั้นๆโดยไม่รู้ตัว จนยากจะถอดออก

· ส่วนใหญ่ ค้นพบตรงกันว่า ในองค์กร ควรมีสัตว์ทั้ง ๔ ผสมๆ กันไป

· บางคนเป็นสัตว์นั้นๆ เพราะ จำใจ โดนบริบท กระบวนการ เหตุการณ์ต่างๆ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ลากไป ดึงไป จนกลายเป็นหมี ทั้งๆ ไม่ใช่ สัตว์แบบนั้น เรียกว่า “ทิ้งไพ่ดี” ออกไป

· บางคนถูกคนอื่นมองว่าเป็นสัตว์ตัวนั้น แต่ ตนเองก็ยังนึกว่าเป็นอีกตัวหนึ่ง เช่น ผู้บริหารหลายคนคิดว่าเองเป็น อินทรี แต่ จริงแล้ว เพื่อนๆ ฟันธงว่าเป็นหมี และ เขาก็ไม่รู้ตัว จนถึงเถียงขาดใจว่า ฉันเป็น “อินทรี”

· ในผู้บริหารบางท่าน ท่านนึกว่าท่านเป็นหนู แต่ ลูกน้องมองว่าเป็นอินทรี อันนี้ก็เพราะ เจอกันในบทบาทที่ต้องประชุมกัน ทำงานด้วยกัน แต่ ลึกๆแล้ว ท่านเป็นหนู ที่ อยากคบกับลูกน้อง แต่ ลูกน้องกลับมองเป็นอินทรี

· หลายคนบอกว่า ควรแบ่งเป็น สัตว์ที่มีลักษณะดี และ ไม่ดี หนูไม่ดี คือ เอาตัวรอด ไม่ขยัน อินทรีไม่ดี คือ ไม่ติดดิน วัวไม่ดี คือ ดื้อ หมีไม่ดี คือ ขี้กังวล

· บางคนบอกว่า ให้ยอมรับความแตกต่าง จะดีจะเลว ไม่ตัดสินกันดีกว่า ให้แก้ไขที่ตนเองจะดีที่สุด

· บางคนเป็นหมอดู เสนอว่า ยังกะ ราศีเลย พวกดิน คือ ราศีมังกร พฤษภ กันย์ พวกลม คือ กุมภ์ มิถุน ตุลย์ พวกน้ำ คือ มีน กรกฏ พฤศจิก พวก ธาตุไฟ คือ วัว เป็นเมษ สิงห์ ธนู

· หลายคน เลือกว่าเป็นสัตว์แบบไหน ด้วยความอยากจะเป็น ไม่ได้ดูตามความเป็นจริง ว่าเป็นตัวอะไรกันแน่

· หลายคน พูดออกมา จนดูแล้วว่าเป็นสัตว์นั้นๆ แต่ พฤติกรรมตรงกันข้าม เราจึงพิจารณาจากคำพูดของเขาไม่ได้เลย

· บางคน มีหลายๆสัตว์ผสมๆกัน เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ ตามเหตุผล ตามหน้าที่

· ในฐานะ คุณเอื้อ คุณอำนวย เราควรหาโอกาส หาเวที สนับสนุนให้ ในตัวของผู้เรียนทุกคน แต่ละคน เปลี่ยนโหมดให้ครบ ไหลวนไปตามวงจรโนนากะ

หลังการสนทนา พวกเรา ก็เลย ทำ โหวต แบบลงคะแนนลับ ว่า พวกเราทั้งห้อง เราคิดว่า ใคร เป็น หนูมากที่สุด วัวมากที่สุด อินทรีมากที่สุด และ หมีมากที่สุด

ผลออกมา บางคนในกลุ่ม เข้าใจตนเองว่าเป็นอินทรี แต่ เพื่อนทั้งห้องโหวตว่าเป็นหนู บางคน เถียงว่าตนเอง เป็นอินทรี แต่ ทั้งห้อง ยืนยันว่า หมีชัดๆ

สุดท้าย เป้าหมายของกิจกรรมนี้ อยู่ที่ หัดฟังเชิงลึกครับ ส่วนการเป็นสัตว์แบบไหนเป็นแค่ของแถม






--- woraphat - 22 ก.ย. 2007 เวลา 20:41

วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สอบผ่านข้อเขียน การบินไทย Operations Engineer และ ใบนัดสัมภาษณ์

คัดให้เหลือ 2 เพื่อเข้าทำงาน (จาก 4 ท่าน)

วันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

What make life 100% successful ?


A small truth to make our Life 100% successful

.......... If [color=darkred]A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z Is equal to 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

Then H+A+R+D+W+O+R+K = 8+1+18+4+23+15+18+11 = 98%

K+N+O+W+L+E+D+G+E = 11+14+15+23+12+5+4+7+5 = 96%

L+O+V+E=12+15+22+5=54%

L+U+C+K = 12+21+3+11 = 47%

(None of them makes 100%) ..............................Then what makes 100%
Is it Money? ..... No!!!!!
Leadership? ...... NO!!!!

Every problem has a solution, only if we perhaps change our "ATTITUDE". It is OUR ATTITUDE towards Life and Work that makes OUR Life 100% Successful..

A+T+T+I+T+U+D+E = 1+20+20+9+20+21+4+5 = 100

Sustainable Development-an old blog from KitimainWater

วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2550

Date: 14th December 2007

Sustainable Development Class & What I have learn.
last few weeks, we had 'Sustainable Development' class provided by ' CSF, Center for Sustainable Future' (http://csf.plymouth.ac.uk/?q=node) run by University of Plymouth. the class did attract every one by its amazing theory such as 'let your kids back to nature'. I bear in mind one theory presented by our lecturer, Alan,........................

Awareness=>knowledge=>understanding=>care=>responsibilities=>ACTION

Buckminster Fuler: “You never change things by fighting the existing reality. To change something, building a new model that make the existing model obsolete” OUT OF BOX

“If you have to make thing change, you have to change the CULTURE.” Make things go well with you!!!

Meadows et al (2005) a sustainable society

Understand=>sufficient (Skills/knowledge)=>Recognise

After the class, i went to univ. lib to get a book namely ' Education for sustainability' . i spent few hours on it, but only one thing i remember is Tevevision plays an important role on teenager and is powerful tool to get their attention. on the same day, i borrow a movie, An inconvenient truth, of which Al Gore conveyed key message through the movie using media as a tool. Mention to the book and the movie, it is clear that team producer of the movie used the same theory describe in the book. this is just my observation of which i think the movie get the key messages across the audiences effectively measuring on my feeling as one of those audience. the movie inspired me starting to do some action, using my knowledge, encouraging people surrounding me, for example.

Again, I have been asking myself that ' which thesis topic should be ?' i want to do something which is not just response my curiosity but also can be used in forthcoming future in Thailand esp. Chonburi as well.

just rough idea come across my head " Thai's perception of Marine Environment and its benefitial" of which using search article in sciendirect as guideline .

Today my good friend, Naveen, asked me that 'Will I study Ph.D?' after hold the master. um....Good question, but only one answer i can say is i want to earn some experience on working and get specific field that i am really interested in related to water management to enhance effectiveness of studying Ph.D.

วันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Green Supply Chain Management การจัดการโซ่อุปทานแบบกรีน


การจัดการโซ่อุปทานแบบกรีน (Green Supply Chain Management)
เขียนโดย ดร.กาญจนา กาญจนสุนทร
จันทร์, 14 กรกฎาคม 2008
ปัจจุบัน หลักในการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานกำลังได้รับความสนใจ และเป็นที่กล่าวถึงกันอย่างกว้างขวาง องค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชนมุ่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ทั้งในระดับมหภาค และจุลภาค อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาถึงแนวโน้มของการพัฒนาระบบการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน จะพบว่าปัญหา และผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลกกำลังเข้ามามีบทบาทสำคัญในระบบโซ่อุปทาน ดังเป็นที่รับทราบกันโดยทั่วไปว่าแนวโน้มของการพัฒนาระบบการจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ก็คือคำว่า “Green Supply Chain” และ “Reverse Logistics” สำหรับ ในบทความนี้ จะได้นำเสนอความหมาย หลักการ และตัวอย่างการประยุกต์ใช้การบริหารจัดการโซ่อุปทานตามแนวทางของ Green Supply Chain

การจัดการโซ่อุปทานแบบกรีน (Green Supply Chain Management)
Green Supply Chain Management มีความหมายดังนี้
• คือการจัดการที่มีประสิทธิผลในการลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากผลิตภัณฑ์ ตลอดจนวงจรผลิตภัณฑ์ (Wang, 1999 : อ้างถึงโดยนิลวรรณ และทศพล,2550)
• คือการนำการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมมารวมกับการบริหารห่วงโซ่อุปทาน เพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมของกระบวนการห่วงโซ่อุปทานขององค์กรหนึ่งๆ (LMI Government Consulting)

มีรายละเอียดเพิ่มเติมในบทความ Green Supply Chain Management

คัดลอกบทความจาก: สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่

เวบที่มีเนื้อหาสอดคล้อง เวบบทความ Green Supply Chain เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

วันพฤหัสบดีที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Lean Supply Chain Thinker: เจาะแก่นแนวคิดแบบลีน (6) : ลีนกับโซ่อุปทาน

Lean Supply Chain Thinker: เจาะแก่นแนวคิดแบบลีน (6) : ลีนกับโซ่อุปทาน: "ทุกวันนี้มีผู้กล่าวถึงแนวคิดแบบลีนอย่างต่อเนื่องด้วยความตื่นเต้นและเหนื่อยอ่อน เพราะหลายๆ คนคิดว่าทำไมจึงต้องเรียนรู้อะไรใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา..."

Key Findings:
1. "ระบบ TPS หรือแนวคิดแบบลีน ที่จริงแล้วก็คือการจัดการโซ่อุปทานในมุมมองของบริษัทโตโยต้านั่นเอง"
2. Lean (Management view) - มองที่ Knowledge-based view (Knowledge management!!!) =>Problem solving(problem solvers)=> Continuous Improvement(วัฒนธรรมการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา)
3. Supply Chain (Process view) - มองที่ Resource-based view
4. Lean = Supply Chain Mngt.
5. โซ่อุปทานแบบลีน (Lean Supply Chain) คือ การผสมสานแนวคิดที่มาจากมุมมองที่แตกต่างกันในเรื่องเดียวกัน เป็นการบูรณาการแนวคิดที่ทำให้เกิดการเติมเต็มส่วนที่ขาดไป

Note:
1. ในอนาคตผมหวังว่าจะมีการเติมเต็มและเสริมสร้างนำเอาแนวคิดที่มีอยู่มาบูรณาเข้าด้วยกันให้มีความเป็นการจัดการแบบองค์รวมเพิ่มมากขึ้น

วันจันทร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Nobel Prize for Game Theory - Summary

Nobel Prize: What is mechanism design and why does it matter?

Nobel Prize: What is mechanism design and why does it matter? | vox - Research-based policy analysis and commentary from leading economists

Some key interesting in this article (follow link given above)......

"Environmental policy

Environmental policy has also benefited from the insights of mechanism design theory. The theory tells us that cap-and-trade systems, such as the system put in place by the Kyoto Protocol, are more cost-effective ways to reduce carbon dioxide emissions than command-and-control mechanisms. Mechanism design theory also tells us how to design environmentally sustainable fishing and hunting schemes in natural reserves. A few years ago, the UK government called on Maskin to help design a scheme that would maximize the corporate sector’s commitment to carbon dioxide emissions reduction for a given budget. Mechanism design theory was again put at work to provide a solution."

 

And

 

What is mechanism design theory? "Three US-based economists - the game theory pioneer Leo Hurwicz, along with Eric Maskin and Roger Myerson – were today awarded the 2007 prize for work spanning 50 years in a branch of game theory that has come to be known as mechanism design.

Prof Hurwicz began working on forms of game theory with the influential economist Kenneth Arrow, who first outlined the pitfalls of information asymmetry in the 1960s and was awarded the Nobel prize in economics in 1972. But Arrow's work built on some of Hurwicz's research in the 1950s, and Hurwicz was regarded as having been overlooked, until now.

Myerson is a prolific author of academic papers and computer software tackling the subject. He is best known as one of the authors of an influential principle in mechanism design theory, the Myerson-Satterthwaite theorem, which finds that one side of a transaction stands to make a loss of some kind when two parties trade a good where they each have hidden and differing information.

Maskin has worked on the optimal design of auctions, alongside his colleague John Riley, and was hired to advise the Italian government on the operation of its bond auctions. He has previously worked as a research student and visiting fellow at Cambridge University."

 

วันอาทิตย์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

วันศุกร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Redefining Engineering for the Year 2020

Redefining Engineering for the Year 2020
By David R. Butcher

Engineering, through its role in the creation and implementation of technology, has been critical to the improvement and vitality of our national economic well-being, health and quality of life.

Engineering has been called the "stealth profession," because so many people remain clueless as to what engineers do — which is unfortunate, because engineering is linked to everything in society.

But it needs to change, according to the National Academy of Engineering (NAE).

The NAE aspires for engineers of 2020 to be more than just competent or admirable technicians — the forthcoming years will require ingenious leaders — ingenious engineers. The globally interconnected world that is shaped in nearly every way by accelerated, seamless and indispensable technological innovation will need Renaissance Engineers: analytical, business-savvy leaders who are effective communicators, creative and inventive, inquisitive, detail oriented and possessing of practical ingenuity.

Of course, this well-rounded Renaissance Engineer must learn early.

Credit to: http://news.thomasnet.com/IMT/archives/2006/07/redefining_engineering_for_year_2020_national_academy_of.html

วิธีดื่มน้ำรักษาโรคต่างๆ

วิธีดื่มน้ำรักษาโรคต่างๆ

จากหนังสือพิมพ์จีน
ในเร็ว ๆ นี้ มีคนมากมายส่งเสริมวิธีดื่มน้ำ เพื่อให้ร่างกายมีสุขภาพสมบูรณ์ นี่เป็นแบบนิยมอันดีงามอย่างหนึ่ง ชีวิตที่ดำรงอยู่ได้ นอกจากอากาศที่บริสุทธิ์ก็คือน้ำ น้ำหนักตัวของคนเรา 2 ใน 3 ส่วนเป็นน้ำจึงมีคนว่าคนประกอบด้วยน้ำ อันที่จริงน้ำสามารถปรับอุณหภูมิในร่างกายของคนได้ สามารถทำให้ไตทำงานเป็นปกติขับถ่ายสิ่งโสโครกให้ออกจากร่างกายได้ นายแพทย์แนะนำบ่อย ๆ ว่าดื่มน้ำให้มากทุก ๆ วัน
วิธีดื่มน้ำรักษาโรคต่าง ๆ ตามที่ได้ทดสอบมาแล้วได้ผล ตื่นเช้าลุกขึ้น ไม่ล้างหน้า ไม่บ้วนปาก แล้วดื่มน้ำสุก 5 แก้ว (ขวดวิสกี้บรรจุได้ 3 แก้ว) หรือน้ำหนักของน้ำ 1.26 ก.ก. เท่ากับ 5 แก้วรวดเดียวจะรู้สึกหายใจเหนื่อยอึดอัดไปหน่อย หลังจากนั้นจะปัสสาวะบ่อย ๆ การปฏิบัติยากลำบากเช่นนี้ หากผู้ที่ไม่มีความเชื่อมั่นอาจจะเลิกเสียกลางคัน ผู้ที่ใช้สมองทั้งวันทั้งคืนในธุรกิจการค้า หาเวลาว่างไปออกกำลังมิได้ ทุกเช้าควรปฏิบัติดี่มน้ำรักษาโรคแทนการออกกำลังกาย เชื่อมั่นได้ว่าจะต้องปราศจากโรค ชีวิตยั่งยืนอย่างไม่ต้องสงสัยในระยะนี้มีผู้ใจบุญพิมพ์คำอธิบายวิธีดี่มน้ำรักษาโรคต่าง ๆ ส่งไปให้เพี่อนฝูง เพี่อนที่ได้รับรู้สึกขอบคุณอย่างยิ่งการที่ช่วยซึ่งกันและกันแบบนี้ ควรจะเผยแพร่ไห้มากขึ้น ผู้เขียนยินดีให้ "วิธีดื่มน้ำรักษาโรคของจีนนี้เปิดเผยให้ผู้อ่านได้มีโอกาสค้นคว้าและทดลองดู วิธีดื่มน้ำรักษาโรคต่าง ๆ" ได้เป็นเรื่องที่ไม่น่าเชื่อ แต่ความเป็นจริงได้ผลอย่างนี้แน่นอนเนื่องจากทำให้ลำไส้ใหญ่ผลิตโลหิตใหม่มากขึ้นซึ่งโลหิตใหม่นี้ผลิตขึ้นจากฝอยคล้ายสักหลาดที่อยู่ในลำไส้ใหญ่ดูดธาตุต่าง ๆ จากอาหารต่าง ๆ ผลิตให้เป็นเม็ดโลหิตคนบางส่วน เนื่องจากลำไส้เคลื่อนไหวไม่เต็มที่ เป็นเหตุให้โลหิตจาง มีอาการรู้สึกเพลียและเป็นโรค เป็นการรักษายาก ลำไส้ของผู้ใหญ่ยาว 8 เมตร ทำหน้าที่ดูดธาตุต่าง ๆ จากอาหาร ถ้าลำไส้สะอาดอาหารที่ได้รับประทานเข้าไปผ่านการย่อยแล้วดูดไปผลิตให้เป็นโลหิตใหม่เป็นการเร่งให้เกิดพลังงานในร่างกายให้สมบูรณ์ขึ้น โรคต่าง ๆ จะหายไปเองอายุก็ยั่งยืน
มหาวิทยาลัยของมณฑลต่าง ๆ ในประเทศจีน ได้ผ่านการทดลอง ได้ประกาศเปิดเผยให้ทราบโดยทั่วกัน วิธีดื่มน้ำรักษาโรค สามารถรักษาโรคดังต่อไปนี้ คือ ท้องผูก ปวดหัว เวียนศีรษะ โลหิตจาง โรคประสาทความดันโลหิตสูง อัมพาตทั้งกาย เป็นลม ปากเบี้ยว โรคปวดตามข้อ โรคอ้วนพี ปวดในกระดูกเส้นเอ็นปวดเมื่อย หูอื้อ ใจเต้น มือเท้าอ่อนเพลีย โรคไอ โรคหืด หอบ หลอดลมอักเสบ วัณโรค เยี่อสมองอักเสบโรคตับ โรคไต เป็นนิ่ว กรดเปรี้ยวในกระเพาะอาหารมากเกินไป กระเพาะอืด กระเพาะอาหารเป็นแผลเน่าเรื้อรัง โรคบิด โมงล่อ (ดากหลุด) โรคริดสีดวงทวาร โรคเบาหวาน สายตาอ่อน โรคตาต่าง ๆ ตาออกเลือดสตรีประจำเดือนไม่ปกติ ระดูขาว มะเร็งในมดลูก มะเร็งเต้านม จมูกอักเสบ เจ็บคอ และโรคผิวหนังต่าง ๆต่อไปนี้เป็นคำบอกเล่าของผู้ที่ได้ผ่านการทดลองดื่มน้ำมาแล้ว
1. ผู้เขียนได้พบกับผู้ชราที่มีสุขภาพอย่างสมบูรณ์ ได้ทักทายกับท่าน ถามท่านว่าเคยเจ็บไข้หรือเปล่า ท่านตอบว่าหลายสิบปีมาแล้วไม่เคยเจ็บไข้มาเลย ท่านกล่าวว่าตอนที่อายุ 20 ปี กระเพาะอาหารเป็นแผล เน่าเรื้อรังนอนอยู่กับที่นานถึง 10 ปี ได้ผ่านการตรวจจากนายแพทย์ 5 ท่าน รักษาฉีดยา รับประทานยา ไม่ ได้ผล ต่อมามีนายแพทย์ท่านหนึ่งได้แนะนำว่าคุณควรทดลองดี่มน้ำสุกอย่างนี้ ตี่นแต่เช้าหน้าไม่ล้าง ปากไม่ บ้วน ดี่มน้ำสุก 5 แก้วทุก ๆวัน อย่าให้ขาดตอน และห้ามไม่ให้รับประทานอาหารก่อนเข้านอน นาย แพทย์สั่งเสร็จไม่ให้ยาก็กลับไป วันรุ่งขึ้นผมก็ทำตามนายแพทย์สั่ง ดื่มน้ำ 5 แก้วรวดเดียว ในหนึ่งชั่วโมง ปัสสาวะ 3 ครั้ง หลังจากนั้นก็รับประทานข้าวต้ม รู้สึกรสชาติของข้าวต้มอร่อยกว่าที่แล้ว ๆ มา วันที่สองดื่มน้ำ 5 แก้วอีกถ่ายอุจจาระออกมามีเลือดดำปนอยู่มาก ต่อจากนั้นสามเดือนน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอีก 10 ก.ก. เวลานี้ผมอายุ 64 ปีแล้ว นับแต่ได้ปฎิบัติดื่มน้ำมา ยังไม่เคยเจ็บไข้ได้ป่วยเลย แม้แต่หวัดก็ไม่เคยเป็น
2. เมื่อผมยังเป็นเด็กเคยเป็นเยื่อสมองอักเสบ นายแพทย์สั่งให้ดื่มน้ำ 5 แก้วทุกวัน ไม่นานเยื่อสมอง ที่อักเสบก็หายไปเอง ภรรยาผมเมื่อ 10 ปีก่อน เป็นโรคหัวใจและเป็นโรคอ้วนเกินไป ร่างกายสูงไม่เกิน 5 ฟุต น้ำหนักตัว 120 ก.ก. พอดื่มน้ำได้ 15 วัน โรคหัวใจ โรคประสาท โรคเข็ดเมื่อยก็ค่อย ๆ ดีขึ้น ดื่มน้ำได้ สองเดือนน้ำหนักตัวลดลงไป 16 ก.ก. เมื่อก่อนเราต้องใช้ยาประจำ นวดไฟฟ้า และรักษาด้วยวิธีเข็มแทง แบบหมอจีนเวลานี้หายไปเองหมดแล้ว
3. อาจารย์ในมหาวิทยาลัยญี่ปุ่นเคยแถลงการณ์ร่วมสองครั้ง เกี่ยวกับฝอยคล้ายสักหลาดในลำไส้ผลิต โลหิตขึ้น จนเดี๋ยวนี้ไม่เห็นมีใครโต้แย้งเลย ไม่ว่าโลหิตจะมาจากไหน แต่ธาตุต่าง ๆ จะต้องมาจากอาหาร อย่างแน่นอน เมื่ออาหารลงไปถึงกระเพาะแล้วผ่านการย่อยลงไปสู่ลำไส้ใหญ่ ลำไส้เล็ก ธาตุส่วนมาก กลายเป็นของเหลวลำไส้ยาว 8 เมตร ดูดธาตุต่าง ๆ เสร็จ ส่งไปสู่ลำไส้ออกของที่ทวารหนักเป็นของที่ไม่ มีประโยชน์สำหรับร่างกาย
4. กระเพาะเป็นแผลเน่า ดื่มน้ำ 1 สัปดาห์ก็เห็นผล โรคความดันโลหิตสูง ดื่มน้ำ 1 เดือนเริ่มเห็นผล กระเพาะบิด 3 เดือนเริ่มเห็นผล ท้องผูก 3 วันก็เห็นผล ท้องเป็นบิดกับปัสสาวะกลางคืนบ่อย ๆ ดื่มน้ำ 1 สัปดาห์ก็เห็นผล เข็ดเมื่อยตามข้อ 3 เดือนเห็นผล ผู้สูงอายุเข็ดเมื่อยทั้งร่างกาย ดื่มน้ำ 2 เดือนเห็นผล โดยเฉพาะผู้ที่โลหิตคั่งอยู่ในสมอง เกิดเป็นลมขึ้น เป็นมายังไม่เกิน 3 เดือน ดื่มน้ำเพียงสัปดาห์เดียวก็ หายเหมือนเดิม รับรองไม่พิการหรือเป็นอัมพาต
ผู้ที่ดี่มน้ำควรทราบ ดื่มน้ำสุกดีที่สุด หากดื่มน้ำประปา ควรจะใส่ขวดไว้แรมคืนให้ตกตะกอนเสียก่อนเพื่อป้องกันท้องร่วง เวลารับประทานอาหารดื่มน้ำได้ตามปกติ แต่หลังอาหารสองชั่วโมงไม่ควรดื่มอีกก่อนเข้านอนไม่ควรรับประทานอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งห้ามรับประทานน้ำส้มคั้น และจำพวกแอปเปิ้ลผู้ที่มีโรคประจำตัวดื่มน้ำทีเดียว 5 แก้วไม่ใช่ของง่าย ดื่มน้ำเสร็จทางที่ดีใช้กำลังสัก 20 นาที คนไข้ที่นอนอยู่บนเตียงไม่สามารถลุกขึ้นได้ ดื่มน้ำเสร็จให้สูดอากาศเข้าปอดให้มาก ๆ และนวดที่บริเวณที่สะเอวให้น้ำไหลลงสู่ลำไส้ให้สะอาด
ดี่มน้ำวันแรกภายใน 1 ชั่วโมง จะปัสสาวะ 3 ครั้งติด ๆ กัน แต่ต่อไป 3-4 วัน การถ่ายท้องจะ เป็นปกติภายใน 7-8 วัน การปัสสาวะเป็นเพียงครั้งเดียว นับแต่นั้นไปจะรู้สึกร่างกายสบาย เวลารับ ประทานอาหารจะรู้สึกอร่อยเป็นพิเศษ นี่เป็นการแสดงให้เห็นว่ากระเพาะลำไส้ได้ถูกชำระสะอาดแล้ว ผู้ที่ หมดหวังแล้วจะรอดตายด้วยวิธีดื่มน้ำรักษาโรคต่าง ๆ นี้
ข้อควรทราบ หลังจากอาตมาได้ทราบตามข้อนี้ และได้ปฏิบัติตาม รู้สึกว่าโรคต่าง ๆ ที่คนชราโดยมากเป็นอยู่บัดนี้รู้สึกว่าเริ่ม เห็นว่าเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมจึงขอยืนยันมาให้ทราบ เป็นการกุศลต่อไป ท่านที่รับหลักการนี้ไปปฏิบัติแล้ว ถ้ามีประโยชน์ดีควรเผยแพร่ต่อไป เพื่อเป็นการกุศล หลวงพ่อสารี่ วัดโคกเนียนตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จ้งหวัดพัทลุง

จาก Mindcyber.com http://thai.mindcyber.com/modules.php?name=Sections&op=viewarticle&artid=217

วันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Educating the Engineer of 2020: Adapting Engineering Education to the New Century

Educating the Engineer of 2020: Adapting Engineering Education to the New Century

Recommendations
ASPIRATIONS AND ATTRIBUTES OF ENGINEERS OF 2020

The Engineer of 2020: Visions of Engineering in the New Century4

The Engineer of 2020: Visions of Engineering in the New Century

Engineers in 2020, like engineers of yesterday and today, will possess strong analytical skills. At its core, engineering employs principles of science, mathematics, and domains of discovery and design to a particular challenge and for a practical purpose. This will not change as we move forward. It has been stated in earlier sections that the core knowledge base on which engineers develop products and services may shift as technologies involving the life sciences, nanoscience, optical science, materials science, and complex systems become more prevalent. Also, information and communications technologies will be ubiquitous—embedded into virtually every structure and process and vital to the success and usefulness of all engineered products. Just as important will be the imperative to expand the engineering design space such that the impacts of social systems and their associated constraints are afforded as much attention as economic, legal, and political constraints (e.g., resource management, standards, accountability requirements). Engineers will also concentrate on systemic outcomes in the same ways that focused outcomes are considered. Even though the scientific knowledge that defines operating principles is expected to be more fluid and more complex, the core analysis activities of engineering design—establishing structure, planning, evaluating performance, and aligning outcomes to a desired objective—will continue.

Engineers in 2020 will exhibit practical ingenuity. The word engineering derives from ingeniator (Johnston et al., 2000). Yesterday, today, and forever, engineering will be synonymous with ingenuity—skill in planning, combining, and adapting. Using science and practical ingenuity, engineers identify problems and find solutions. This will continue to be a mainstay of engineering. But as technology continues to increase in complexity and the world becomes ever more dependent on technology, the magnitude, scope, and impact of the challenges society will face in the future are likely to change. For example, issues related to climate change, the environment, and the intersections between technology and social/public policies are becoming increasingly important. By 2020 the need for practical solutions will be at or near critical stage, and engineers, and their ingenuity, will become ever more important.

Creativity (invention, innovation, thinking outside the box, art) is an indispensable quality for engineering, and given the growing scope of the challenges ahead and the complexity and diversity of the technologies of the 21st century, creativity will grow in importance. The creativity requisite for engineering will change only in the sense that the problems to be solved may require synthesis of a broader range of interdisciplinary knowledge and a greater focus on systemic constructs and outcomes.

As always, good engineering will require good communication. Engineering has always engaged multiple stakeholders—government, private industry, and the public. In the new century the parties that engineering ties together will increasingly involve interdisciplinary teams, globally diverse team members, public officials, and a global customer base. We envision a world where communication is enabled by an ability to listen effectively as well as to communicate through oral, visual, and written mechanisms. Modern advances in technology will necessitate the effective use of virtual communication tools. The increasing imperative for accountability will necessitate an ability to communicate convincingly and to shape the opinions and attitudes of other engineers and the public.

In the past those engineers who mastered the principles of business and management were rewarded with leadership roles. This will be no different in the future. However, with the growing interdependence between technology and the economic and social foundations of modern society, there will be an increasing number of opportunities for engineers to exercise their potential as leaders, not only in business but also in the nonprofit and government sectors. Policy decisions in technological societies will demand the attention of leaders who understand the strengths and limitations of science and technology. New levels of sophistication will be needed as choices that affect physical, human, and political infrastructures and decisions that define priorities and objectives for a community, region, or nation are made.

In preparation for this opportunity, engineers must understand the principles of leadership and be able to practice them in growing proportions as their careers advance. They must also be willing to acknowledge the significance and importance of public service and its place in society, stretching their traditional comfort zone and accepting the challenge of bridging public policy and technology well beyond the roles accepted in the past.

Complementary to the necessity for strong leadership ability is the need to also possess a working framework upon which high ethical standards and a strong sense of professionalism can be developed. These are supported by boldness and courage. Many of the challenges of the new century are complex and interdependent and have significant implications for the technologies intended to address them and the ways in which those technologies affect the planet and the people that live here. Effective and wise management of technological resources is integral to engineering work. The choices will be gray in nature, balancing (for example) economic, social, environmental, and military factors. Leaders, and those who influence these choices, will benefit from a sense of purpose and clarity. Successful engineers in 2020 will, as they always have, recognize the broader contexts that are intertwined in technology and its application in society.

Given the uncertain and changing character of the world in which 2020 engineers will work, engineers will need something that cannot be described in a single word. It involves dynamism, agility, resilience, and flexibility. Not only will technology change quickly, the social-political-economic world in which engineers work will change continuously. In this context it will not be this or that particular knowledge that engineers will need but rather the ability to learn new things quickly and the ability to apply knowledge to new problems and new contexts.

Encompassed in this theme is the imperative for engineers to be lifelong learners. They will need this not only because technology will change quickly but also because the career trajectories of engineers will take on many more directions—directions that include different parts of the world and different types of challenges and that engage different types of people and objectives. Hence, to be individually/personally successful, the engineer of 2020 will learn continuously throughout his or her career, not just about engineering but also about history, politics, business, and so forth.

What attributes will the engineer of 2020 have? He or she will aspire to have the ingenuity of Lillian Gilbreth, the problem-solving capabilities of Gordon Moore, the scientific insight of Albert Einstein, the creativity of Pablo Picasso, the determination of the Wright brothers, the leadership abilities of Bill Gates, the conscience of Eleanor Roosevelt, the vision of Martin Luther King, and the curiosity and wonder of our grandchildren.

Lillian Gilbreth is known as the Mother of Ergonomics, a branch of engineering devoted to fitting the workplace to the worker. Ergonomics involves the application of knowledge about human capacities and limitations to the design of workplaces, jobs, tasks, tools, equipment, and the environment. Gilbreth’s approach transformed the engineering activity by introducing a primary focus on human needs and capacities. She was recognized for her contributions by being the first woman elected to the National Academy of Engineering in 1966.

The Engineer of 2020: Visions of Engineering in the New Century3

The Engineer of 2020: Visions of Engineering in the New Century

Engineers in 2020, like engineers of yesterday and today, will possess strong analytical skills. At its core, engineering employs principles of science, mathematics, and domains of discovery and design to a particular challenge and for a practical purpose. This will not change as we move forward. It has been stated in earlier sections that the core knowledge base on which engineers develop products and services may shift as technologies involving the life sciences, nanoscience, optical science, materials science, and complex systems become more prevalent. Also, information and communications technologies will be ubiquitous—embedded into virtually every structure and process and vital to the success and usefulness of all engineered products. Just as important will be the imperative to expand the engineering design space such that the impacts of social systems and their associated constraints are afforded as much attention as economic, legal, and political constraints (e.g., resource management, standards, accountability requirements). Engineers will also concentrate on systemic outcomes in the same ways that focused outcomes are considered. Even though the scientific knowledge that defines operating principles is expected to be more fluid and more complex, the core analysis activities of engineering design—establishing structure, planning, evaluating performance, and aligning outcomes to a desired objective—will continue.

Engineers in 2020 will exhibit practical ingenuity. The word engineering derives from ingeniator (Johnston et al., 2000). Yesterday, today, and forever, engineering will be synonymous with ingenuity—skill in planning, combining, and adapting. Using science and practical ingenuity, engineers identify problems and find solutions. This will continue to be a mainstay of engineering. But as technology continues to increase in complexity and the world becomes ever more dependent on technology, the magnitude, scope, and impact of the challenges society will face in the future are likely to change. For example, issues related to climate change, the environment, and the intersections between technology and social/public policies are becoming increasingly important. By 2020 the need for practical solutions will be at or near critical stage, and engineers, and their ingenuity, will become ever more important.

Creativity (invention, innovation, thinking outside the box, art) is an indispensable quality for engineering, and given the growing scope of the challenges ahead and the complexity and diversity of the technologies of the 21st century, creativity will grow in importance. The creativity requisite for engineering will change only in the sense that the problems to be solved may require synthesis of a broader range of interdisciplinary knowledge and a greater focus on systemic constructs and outcomes.

As always, good engineering will require good communication. Engineering has always engaged multiple stakeholders—government, private industry, and the public. In the new century the parties that engineering ties together will increasingly involve interdisciplinary teams, globally diverse team members, public officials, and a global customer base. We envision a world where communication is enabled by an ability to listen effectively as well as to communicate through oral, visual, and written mechanisms. Modern advances in technology will necessitate the effective use of virtual communication tools. The increasing imperative for accountability will necessitate an ability to communicate convincingly and to shape the opinions and attitudes of other engineers and the public.

In the past those engineers who mastered the principles of business and management were rewarded with leadership roles. This will be no different in the future. However, with the growing interdependence between technology and the economic and social foundations of modern society, there will be an increasing number of opportunities for engineers to exercise their potential as leaders, not only in business but also in the nonprofit and government sectors. Policy decisions in technological societies will demand the attention of leaders who understand the strengths and limitations of science and technology. New levels of sophistication will be needed as choices that affect physical, human, and political infrastructures and decisions that define priorities and objectives for a community, region, or nation are made.

In preparation for this opportunity, engineers must understand the principles of leadership and be able to practice them in growing proportions as their careers advance. They must also be willing to acknowledge the significance and importance of public service and its place in society, stretching their traditional comfort zone and accepting the challenge of bridging public policy and technology well beyond the roles accepted in the past.

Complementary to the necessity for strong leadership ability is the need to also possess a working framework upon which high ethical standards and a strong sense of professionalism can be developed. These are supported by boldness and courage. Many of the challenges of the new century are complex and interdependent and have significant implications for the technologies intended to address them and the ways in which those technologies affect the planet and the people that live here. Effective and wise management of technological resources is integral to engineering work. The choices will be gray in nature, balancing (for example) economic, social, environmental, and military factors. Leaders, and those who influence these choices, will benefit from a sense of purpose and clarity. Successful engineers in 2020 will, as they always have, recognize the broader contexts that are intertwined in technology and its application in society.

Given the uncertain and changing character of the world in which 2020 engineers will work, engineers will need something that cannot be described in a single word. It involves dynamism, agility, resilience, and flexibility. Not only will technology change quickly, the social-political-economic world in which engineers work will change continuously. In this context it will not be this or that particular knowledge that engineers will need but rather the ability to learn new things quickly and the ability to apply knowledge to new problems and new contexts.

Encompassed in this theme is the imperative for engineers to be lifelong learners. They will need this not only because technology will change quickly but also because the career trajectories of engineers will take on many more directions—directions that include different parts of the world and different types of challenges and that engage different types of people and objectives. Hence, to be individually/personally successful, the engineer of 2020 will learn continuously throughout his or her career, not just about engineering but also about history, politics, business, and so forth.

What attributes will the engineer of 2020 have? He or she will aspire to have the ingenuity of Lillian Gilbreth, the problem-solving capabilities of Gordon Moore, the scientific insight of Albert Einstein, the creativity of Pablo Picasso, the determination of the Wright brothers, the leadership abilities of Bill Gates, the conscience of Eleanor Roosevelt, the vision of Martin Luther King, and the curiosity and wonder of our grandchildren.

Lillian Gilbreth is known as the Mother of Ergonomics, a branch of engineering devoted to fitting the workplace to the worker. Ergonomics involves the application of knowledge about human capacities and limitations to the design of workplaces, jobs, tasks, tools, equipment, and the environment. Gilbreth’s approach transformed the engineering activity by introducing a primary focus on human needs and capacities. She was recognized for her contributions by being the first woman elected to the National Academy of Engineering in 1966.

The Engineer of 2020: Visions of Engineering in the New Century2

The Engineer of 2020: Visions of Engineering in the New Century

Engineering a Sustainable Society and World

 

The world faces significant environmental challenges in the future. At the same time there is great opportunity for engineering to serve as a force to help society solve the problems associated with these challenges. This requires a holistic understanding of economic growth and development in terms of the principles of sustainability. The present generation has the obligation to leave a legacy to those who follow so they can have the opportunity to appreciate the unrestrained beauty of nature, the full diversity of the world’s flora and fauna, and ancient and modern cultures and their artifacts.

It is our aspiration that engineers will continue to be leaders in the movement toward use of wise, informed, and economical sustainable development. This should begin in our educational institutions and be founded in the basic tenets of the engineering profession and its actions.

Advances in communications, travel, and economics have created a world where no country is untouched by any other. In the United States the oceans that bound our coasts no longer insulate us from other nations. In this dynamic global economy and political environment, engineering must adjust to a new world view.

We aspire to a future where engineers are prepared to adapt to changes in global forces and trends and to ethically assist the world in creating a balance in the standard of living for developing and developed countries alike.

New tools in manufacturing and production, new knowledge about the products being produced and the customers that use them, and the ease with which information and products can be transferred will enable the creation of products and services that are uniquely designed for the user. Manufacturers will have the ability to embed adaptive features into automated processes, including the capacity to respond to real-time information provided by the user and/or other entities. Consumers will demand products that are tailored to their needs and intended uses based on the most unique attributes (e.g., DNA type, physical attributes, specific use environment, or customer preference). The concept of made-to-order products will continue to expand (Tersine and Harvey, 1998), and for many industries a made-to-order ability may become a necessity for survival in the near term. Engineers will be asked to accelerate and expand customerization as businesses compete to build and maintain a strong customer base, wherever those customers may be.

If this is the world that emerges, present concerns about outsourcing of low-wage, mass-production manufacturing jobs may be misplaced. Instead, the concern should be about creating a workforce and business environment that prospers in a mass-production-less economy. Engineers will be central to such a workforce, but what will they need to know and do?

The Engineer of 2020: Visions of Engineering in the New Century1

The Engineer of 2020: Visions of Engineering in the New Century

Aspirations for the Engineer of 2020

Throughout the ages humankind has sought to divine the future, in the past by consulting the Delphic oracle, today by creating massive computer models. However, life has a habit of reminding us that our predictions are rarely accurate. Despite the fickle nature of events over time, two constants persist. One is that we continue to prepare ourselves for an uncertain future as we always have, and the second is a steady growth of the influence of technology in our lives.

Engineering, through its role in the creation and implementation of technology, has been a key force in the improvement of our economic well-being, health, and quality of life. Three hundred years ago the average life span was 37 years, the primary effort of the majority of humans was focused on provisioning their tables, and the threat of sudden demise due to disease was a lurking reality (Kagan et al., 2001). Today, human life expectancy is approaching 80 years in many parts of the world as fundamental advances in medicine and technology have greatly suppressed the occurrence of and mortality rates for previously fatal diseases and the efforts of humankind are focused largely on enhanced quality of life (Central Intelligence Agency, 2001). Only 150 years ago travel from the East Coast of the United States to the West Coast entailed a hazardous journey that took months to accomplish. Weeks were needed to transmit a letter from one coast to the other. Today, in the developed world, we take it for granted that transportation is affordable and reliable, good health care is accessible, information and entertainment are provided on call, and safe water and healthy food are readily available.

To be sure, there have also been negative results of technology. Pollution, global warming, depletion of scarce resources, and catastrophic failures of poorly designed engineering systems are examples. Overall, however, engineers and their inventions and innovations have helped shape the changes that have made our lives more productive and fruitful.

With the prospect of the exciting new developments expected to come from such fields as biotechnology, nanotechnology, and high-performance computing, the year 2020 can be a time of new choices and opportunities. The years between the present and 2020 offer engineering the opportunity to strengthen its leadership role in society and to define an engineering career as one of the most influential and valuable in society and one that is attractive for the best and the brightest. If we are to take full advantage of this opportunity, it is important to engage all segments of the population in a vigorous discussion of the roles of engineers and engineering and to establish high aspirations for engineers that reflect a shared vision of the future.

VISIONS OF THE COMMITTEE
Our Image and the Profession

Without engineers working both in technical endeavors and as leaders who serve in industry, government, education, and nonprofit organizations, progress would stagnate. Engineering offers men and women an unparalleled opportunity to experience the joy of improving the quality of life for humankind through development of engineering solutions to societal problems. Many engineers pursue career paths in fields that are traditionally defined as engineering. However, a significant number use their engineering backgrounds as points of departure into other fields such as law, medicine, and business. The opportunities offered by an engineering education are multifold, and this is not fully realized by young people, their parents, counselors, mentors, and the public at large.

By 2020, we aspire to a public that will understand and appreciate the profound impact of the engineering profession on sociocultural systems, the full spectrum of career opportunities accessible through an engineering education, and the value of an engineering education to engineers working successfully in nonengineering jobs.

While engineering is a rapidly evolving field that adapts to new knowledge, new technology, and the needs of society, it also draws on distinct roots that go back to the origins of civilization. Maintaining a linkage of the past with the future is fundamental to the rational and fact-based approaches that engineers use in identifying and confronting the most difficult issues.

We aspire to a public that will recognize the union of professionalism, technical knowledge, social and historical awareness, and traditions that serve to make engineers competent to address the world’s complex and changing challenges.

Engineering must be grounded in the fundamental principles of science and mathematics. This foundation supports the development of new knowledge and the creation of safe, reliable, and innovative technologies that advance society and the human condition. Solutions of societal problems require that these technologies be applied in innovative ways with consideration of cultural differences, historical perspectives, and legal and economic constraints, among other issues.

We aspire to engineers in 2020 who will remain well grounded in the basics of mathematics and science, and who will expand their vision of design through a solid grounding in the humanities, social sciences, and economics. Emphasis on the creative process will allow more effective leadership in the development and application of next-generation technologies to problems of the future.

วันพุธที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

King Solomon's Dilemma: A simple solution

We Are Purdue. Makers, All.

"I THINK WORK SHOULD BE ABOUT MAKING THINGS WORK better, faster, smaller, smarter."



SO.............I BUILD BRIDGES BETWEEN WHAT'S KNOWN. AND WHAT'S NOT.

I TINKER, I TOIL, I WRITE POETICALLY IN AN ABUNDANCE OF LANGUAGES.

I HACK, I DISSECT, I HAVE AN INSATIABLE DESIRE TO UN-COMPLICATE THE COMPLICATED.

I AM EASILY INSPIRED.

POTENTIAL IS MY THRILL RIDE.
IMAGINE IS MY MOST-USED TOOL.

I AM A MAKER.....AND I AM WHAT MOVES THE WORLD FORWARD.

WE ARE PURDUE. MAKERS, ALL.

Lec-1 Introduction to Linear Programming Formulations

ละอายที่จะเรียกตัวเองว่า "วิศวกร"



"ไม่มีที่ให้เริ่ม หรือเรามองทางไม่เห็น"

ไม่มีโอกาสให้เริ่มทำงานด้าน วิศวกรรมอุตสาหการ เลย พยายามมาก ผิดหวังมานับสิบครั้ง ดูเหมือนเส้นทางที่เปิดให้เราเดินนั้นเป็นเส้นทางสาย "วิทย์ยาศาสตร์" (ตามวุฒิ ป.โท) แต่ทำไมเราโหยหาการเป็น "วิศวกรอุตสาหการ" ทำงานด้านการ.........ตอบตัวเองยังไม่ได้เลยว่าอยากทำงานด้านไหน นี่เราจะต้องการเวลาอีกนานเท่าไรถึงจะตอบโจทย์นี้ให้แก่ตัวเราได้ หากเกิน 30 แล้วเปลี่ยนสาย จะสามารถทำได้ไหม

แต่ที่รุ้ๆ แน่ๆ งานด้าน "นักวิจัย หรือนักวิทยาศาสตร์" ไม่ใช่สิ่งที่ชอบ อาจจะทำได้ดีเพราะวุฒิที่เล่าเรียนมา ในระดับ ป.โท แต่เชื่อว่า หากใจเราบอกว่า "ไม่ชอบ" เราก็คง "ไม่เชี่ยว" ในด้านนี้แน่ๆ เราคิดมากไปไหมนะ.......ทำงานด้านวิทยาศาสตร์ ที่ว่าเราคงจะไม่เชี่ยว นั่นก็เพราะ....เราพบว่า ยังมีองค์ความรู้อีกหลายส่วนที่เราต้องเรียนรู้เพิ่มเติม ที่เราไม่ได้เรียนมาเหมือนเด็กๆสายวิทย์เรียนในระดับ ป. ตรี เราข้ามมาเรียนในระดับ ป.โทเลย หากเทียบกับบ้านก็เป็น บ้านที่มีโครงสร้าง "ฐานรากไม่แข็งแรง " หากบ้านไม่ใหญ่โตก็ยังคงอยู่ได้ แต่หากต่อเติมไปตามกาลเวลา เมื่อนั้นฐานรากจึงไม่อาจรองรับน้ำหนักได้ ในท้ายที่สุดก็คงพังคลืนลงมาเท่านั้น

จะตะเกียกตะกายหางานที่ตรงกับความชอบและสิ่งที่เราสนใจต่อไป หรือยอมรับชะตากรรมและปล่อยใหมันไหลไปตามกระแสปัจจุบัน?????????

นึกถึงคำพูดแกมสอนของพี่ชาย ที่ว่า "อุดมการณ์ กับ เศรฐกิจ ต้องมาคู่กัน" อุดมการณ์อย่างเดียวก็อดตาย เศรษฐกิจอย่างเดียว อาจจะบกพร่องในความสุข
แต่ก็อีกล่ะ .........งานไม่ใช่ทุกอย่างสำหรับชีวิต ชีวิตมีหลายด้าน ชีวิตการงาน ชีวิตส่วนตัว ครอบครัว เพื่อนฝูง งานอดิเรก ปัจจุบันนี้ทำงานเพื่อเงิน เพื่อความก้าวหน้า (ก็เพื่อเงินอีกนั่นหล่ะ) เพื่อที่จะได้นำเงินไปเติมเต็มชีวิตด้านที่เหลือ ............

ในทางกลับกัน หากอุดมการณ์แรงกล้า แต่ไร้ซึ่งเศรษฐกิจที่ดี ....ชีวิตทุกด้าน ก็มิอาจเสพสมได้ดั่งใจหวัง ชีวิตการงานอาจสมใจเรา แต่ชีวิตครอบครัวสั่นคลอนขาดแคลน ไม่สะดวกพบปะเพื่อนฝูง ไม่มีเงินทำในงานอดิเรกที่ชอบ

สถานการณ์ปัจจุบัน เราโอนเอีpงไปทาง "แย่ทั้ง อุดมการณ์ และเศรษฐกิจ" ได้เงินเดือนน้อย ลักษณะงานที่ไม่ชอบ เหมือนปลาที่ว่ายทวนน้ำไม่ไปไหน แรงว่ายไม่เพียงพอ ออกแรงเยอะ แต่ว่ายอยู่กับที่

วิศกรคือ "ผู้ที่นำวิทยาศาสตร์ ไปใช้" เป็นผู้สร้าง และผู้ทำลาย
ส่วน "นักวิทยาศาสตร์" นั้น เป็นผู้ "เฝ้าระวัง" รายงานผล เพื่อผลิตข้อมูลให้ผู้คนนำไปใช้ (และข้อมูลเหล่านั้นต้องถูกนำไปใช้ จึงจะเกิดผล)

หนูอยากกลับไปเป็น "วิศวกร" เพราะ หนูรู้แล้วว่าสถานที่ใดที่เราควรอยู่ แต่ทางมันตันไปหมด เราจะทำอย่างไรดี ทำอย่างไรดี ............

เราควรจะกล้าที่จะ "ถอยหลังหนึ่งก้าว เพื่อที่จะก้าวต่อไป" ไม่ใช่เหรอ ที่เราไม่ทำนั้นเพราะ "เราใส่ใจในสายตาผู้คนรอบข้าง" ใส่ใจกับความคิดของเขา กลัวว่าเขาจะไม่เห้นด้วย จนละเลยความต้องการของตัวเองหรือไม่

ทำไมไม่ทำ ทั้งที่ ในใจเรารู้อยู่เต็มอกแล้วว่าเราเห็นตัวเองยืนอยู่ตรงไหนในอีก 10 ปีนับจากนี้ (อาจารย์มหาวิทยาลัยด้าน วิศวกรรมอุตสาหการ) เรา "จำเป็น" ต้องมีประสบการณ์การทำงานจริงเพื่อนำไปใช้ในการสอนได้

สับสน ที่สุด ในชีวิต

PAY IT FORWARD - ASSIGNMENT TO SAVE THE WORLD



Is it possible for one idea to change the world?

"DREAM BIG , START SMALL"

The Social Network Official Trailer -In theatres Oct 1 2010

วันเสาร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2554

AVATAR - Official Launch Trailer (HD)

วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2554

องค์กรแห่งการเรียนรู้ และการบริหารความรู้ โดย ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ

องค์กรแห่งการเรียนรู้ และการบริหารความรู้ โดย ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ
TQM การบริหารคุณภาพแบบองค์รวม โดย ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ

HOME (English with subtitles)

http://www.youtube.com/watch?v=jqxENMKaeCU

แง่คิด คันๆ ขำๆ จาก ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ

รวบรวม ขำขัน คันๆ

ยุค อุตสาหกรรม = ยุค "อุตส่าห์ - หา - กรรม"


ประวัติ ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ
บางส่วนจากบทความดังกล่าว "+คุณค่อนข้างใฝ่รู้ในทุกๆ เรื่องแล้วจัดการองค์ความรู้อย่างไร

ตอนผมเรียนเมืองนอก ผมไปพิพิธภัณฑ์บ่อยมาก เวลาผมดูภาพวาด ผมชอบคุยกับเจ้าหน้าที่ ผมอยากรู้ว่าภาพวาดชุดนี้โด่งดังได้อย่างไร องค์ประกอบภาพ การใช้สี ความกลมกลืนระหว่างศิลปะ เราตั้งคำถามว่า ทำไมศิลปินดังๆ ใช้พู่กันปากเป็ดเพียงอันเดียวก็สามารถวาดรูปได้สวย
เราไม่ได้มองแค่ภาพ แต่มองลึกลงไปถึงปรัชญาที่ซ่อนอยู่ อย่างภาพวาดอาจารย์ถวัลย์ ดัชนี หรือเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ มองแค่ความงามอย่างเดียวไม่ได้ ต้องมองลงไปถึงวิธีคิดและอารมณ์ที่ใส่ลงไป สุดท้ายมองความว่างในใจเขา

ผมสนใจทุกอย่าง ทุกเรื่อง ไม่ได้มั่ว ผมคิดว่า ท่ามกลางพายุที่สับสน ผมจับลมปราณของมันได้ ผมจับได้ทุกวิชา อย่างประวัติศาสตร์สะท้อนอารมณ์และจิตใจคนยุคนั้นๆ ผมคิดต่อว่า ทำไมเขาตัดสินทำแบบนั้น พอมาถึงยุคปัจจุบัน เหตุการณ์ใกล้เคียงกัน ก็นำมาใช้กับการวางยุทธศาสตร์ ทุกเรื่องเกี่ยวข้องกันหมด หากขึ้นไปที่ต้นแม่น้ำจะเจอเรื่องเดียวกันคือ ตาน้ำ การศึกษาก็เหมือนกัน ถ้าเรารู้จักอ่านหนังสือ ก็จะเจอแก่นของมัน จะวิพากษ์อะไรก็ได้ เพราะเราเข้าใจ"
"+ได้เป็นนักวิทยาศาสตร์ระดับโลก แต่กลับไม่ใช่สิ่งที่ตัวเองต้องการ คุณกำลังค้นหาอะไรหรือ

ผมค่อนข้างจับฉ่ายแมน ชอบขับรถ เดินป่า ธรรมชาติ และศิลปะ ตอนอยู่นาซาผมเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จนไม่มีวิชาอะไรให้เรียนแล้ว ผมก็เลยเกิดคำถามว่า วิทยาศาสตร์เองก็มั่วเยอะ ใช้วิธีการอนุมานและตั้งสมมติฐานเยอะ ก็เลยถามตัวเองว่า ฉันกำลังทำอะไรอยู่ พอได้อ่านบทความของไอสไตน์ เขียนไว้ก่อนตายว่า ศาสนาที่เป็นวิทยาศาสตร์ที่สุดคือ พุทธะ ผมก็งง! ตอนนั้นผมยังเป็นคริสเตียน ผมต้องขอบคุณท่านอาจารย์พุทธทาส ท่านเขียนเชื่อมโยงพุทธกับคริสต์ได้ดีมาก สุดท้ายแล้วเป็นเรื่องเดียวกัน แต่วิธีการเข้าหามีหลายวิธี ไม่ต่างจากการขึ้นภูเขา พระพุทธเจ้าพูดอะไรที่เป็นวิทยาศาสตร์ ไม่งมงาย คนมาปฏิบัติธรรมทางพุทธ ถ้าขี้เกียจจะไม่ค่อยเห็นผล"
"+อุตส่าห์เรียนวิทยาศาสตร์จนถึงขั้นสุดยอด แต่กลับรู้สึกว่า พุทธศาสนาน่าจะให้คำตอบชีวิตมากกว่า ลองอธิบายความคิดตรงนี้ได้มั้ย

ศาสนาพุทธเหมือนโลกกลม นักวิทยาศาสตร์เป็นพวกโลกแบน แล้วไม่ยอมเดินเรือออกไปที่ขอบจักรวาล เ มื่อผมอยากรู้จักพุทธ ก็ต้องศึกษาและปฏิบัติ แรกๆ ก็เชื่อเขาไปก่อน โยนความคิดทิ้งไปก่อน ถ้าพลาดก็ว่ากันใหม่ เวลาหลวงปู่หลวงพ่อสั่งให้ทำ ก็ทำเต็มที่ สุดท้ายพบว่า กายกับจิตคนละตัวกัน อย่าไปหลงกาย กายคือรถผจญภัย ผมก็ทำงานเต็มที่สร้างสมดุลทางโลกกับทางธรรม ถ้ารักษาจิตให้ว่าง ถ้าทำจิตให้เป็นศูนย์หรือว่างก็คือ นิพพาน"

"+แล้วคุณนำเรื่องธรรมะมาใช้กับงานอย่างไร

ปรากฏว่า สิ่งที่อาจารย์พุทธทาสสอน สุดยอดคือ บวชกับงาน หากเวลาทำงานเกิดเบื่อ ก็ให้รู้เท่าทัน แล้วทำงานต่อ ผมสอนเรื่องการเดินจิต ปฏิบัติธรรมด้วย พอสอนเสร็จก็พาไปเดินในป่าช้าที่ขอนแก่น เรื่องศาสนาผมให้เวลาเต็มที่ บางทีก็สอนปฏิบัติที่บ้าน ถ้ามีเวลาว่าง ก็จะพาไปวัด ก่อนอื่นต้องสอนตัวเองและคนรอบข้างให้ได้ก่อน ผมคิดว่า คนไทยฝึกเรื่องใจน้อยไป ตามใจลูกมากไป เด็กไม่เคยถูกสอนให้ควบคุมใจ กลายเป็นว่า ทุกคนอยู่อำเภอที่ไม่น่าอยู่คือ อำเภอใจ ไม่รู้จักควบคุมตัวเอง และแยกไม่ออกว่า ใจเป็นกุศลกับอกุศลต่างกันอย่างไร"

องค์กรที่เรียนรู้ฯ | ดร.วรภัทร์ part5 [1/3]

วันพุธที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2554

วันเสาร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2554

ไปมาแล้ว _ อบรมเพาะเห็ดถุง ปฏิบัติ โดย ifarm







อบรมโดย อ. ฐิติรัตน์ พ่วงโพธิ์ทอง เจ้าของ "ฟาร์มเห็ดโพธิ์ทอง" บางบัวทอง ไทรน้อย นนทบุรี

รายละเอียดดูที่นี่ ifarm

อบรมเพาะเห็ดถุง - หลักสูตรเน้นปฏิบัติ ::
อบรมเพาะเห็ดปี 2554 : ศูนย์เรียนรู้ ifarm จัดอบรมเพาะเห็ดในถุง อันได้แก่เห็ดโคนญี่ปุ่น เห็ดนางฟ้า เห็ดหอม เห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดนางรม โดยเป็นหลักสูตรที่เน้นให้ผู้เรียนทุกท่านได้ฝึกปฎิบัติกับอุปกรณ์และเครื่องมือการเพาะเห็ดที่ได้มาตรฐานอย่างทั่วถึง [ ดูรูปประกอบ ]จำกัดจำนวนผู้เรียน (ไม่เกิน 35-45 ท่าน) * * * ณ. ฟาร์มเห็ดโพธิ์ทอง อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี บรรยายและนำฝึกปฏิบัติโดย อ. ฐิติรัตน์ พ่วงโพธิ์ทอง

ค่าอบรม : 2,000 บาท/ท่าน (รวมค่าเอกสาร อาหาร เครื่องดื่ม Coffee Break และอุปกรณ์) ทบทวนฟรีตลอดชีพ

กำหนดการอบรม : 22 ม.ค 2554 (09.00-16.00)

หัวข้อการอบรมการเพาะเห็ดในถุง

1. ความรู้เบื้องต้นในการเพาะเห็ดถุง

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเห็ดชนิดต่างๆ
ความรู้เกี่ยวกับวงจรชีวิตของเห็ด
ทำความเข้าใจขั้นตอนการเพาะเห็ดในถุง
2. การทำเชื้อเห็ดและผลิตหัวเชื้อเห็ด
การแยกเชื้อเห็ด แม่เชื้อเห็ด วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น
3. การทำก้อนเชื้อเห็ด การทำก้อน
การเตรียมวัสดุเพาะ การผสมวัสดุเพาะ (พร้อมสูตรการผสมวัสดุเพาะ)
การใส่อาหารเสริม
การบรรจุวัสดุเพาะใส่ถุง และการอัดถุงให้แน่นด้วยเครื่องอัด การสวมปลอกคอ การใช้ยางรัด
การนึ่งฆ่าเชื้อในเต้านึ่งฆ่าเชื้อแบบมาตรฐาน
การหยอดเชื้อ การพักก้อนเชื้อ
การบ่มก้อนเชื้อเห็ด
การเปิดดอกเห็ด
การรดน้ำ
การดูแลรักษาให้เห็ดออกดอกมีผลผลิตสม่ำเสมอ และมีคุณภาพเป็นที่ต้องการของตลาด
การเก็บเกี่ยวดอกเห็ด และเทคนิคหลังเก็บเกี่ยว
4. โรงเรือนเพาะเห็ด

การออกแบบโรงเรือนเพาะเห็ดถุง
การออกแบบชั้นวางก้อนเห็ด
5. ปัญหาและโรคในเห็ด

โรคจากเชื้อรา
โรคเกิดจากไวรัส
โรคขีดสนิม
6. ช่องทางการขายและการตลาด

Industrial Engineer (IE) & its key disciplines. What is IE?

As an IE, i have always wondered since my first year in university about what are key roles of IE to play?

Head of the School of Industrial Engineering, Dr. Abhijit Deshmukh, gave an interview in the Purdue University's webpage that “IE is the key discipline that has the tools to develop the science of integration that can help us build systems that are complex but manageable,” he says. “IE is a lynch pin to a lot of the problems we are looking at and could provide the key element to solving big societal issues … when you look at infrastructure or climate change, these are highly correlated, integrated problems. It’s a fascinating time for IE.” (accessed 11/01/2011)

his interview catches me since he mentioned impressively about how IE can play role in the age of GLobal warming? Do you find "....... It’s a fascinating time for IE." in his interview? After reading his interview, i found that he gave me some sort of inspiration to move on toward what i have thought before (that I nearly gave up to fine the way to achieve it).

Hm..... an "Industrial Engineer for 2020" , an IE with environmental concerns.

Will I get an opportunity to learn from the man? from the Purdue University. (.....the university happens to be one of the top ten best university in technology and engineering)

วันพุธที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2554

มก.สร้างและพัฒนานักเพาะเห็ดเศรษฐกิจมืออาชีพ


ชื่อเรื่อง : มก.สร้างและพัฒนานักเพาะเห็ดเศรษฐกิจมืออาชีพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยสำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กำแพงแสน ร่วมกับชมรมผู้เพาะเห็ดเศรษฐกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สร้างและพัฒนานักเพาะเห็ดเศรษฐกิจมืออาชีพ เพื่อให้ลงมือทำกินเป็นอาชีพหลักหรือเสริมรายได้แก่ครอบครัว

ประธานชมรมผู้เพาะเห็ดเศรษฐกิจ ยังเผยเคล็ดลับสำคัญอีกว่าการเพาะเห็ดโคนญี่ปุ่นให้ประสบความสำเร็จต้อง อาศัยปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความรู้ ความเข้าใจวงจรชีวิตและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดดอก เคล็ดลับเหล่านี้สามารถเรียนรู้ด้วยการปฎิบัติจริงในฟาร์มเพาะเห็ดกับ

โครงการฝึกอบรมหลักสูตร นักเพาะเห็ดเศรษฐกิจมืออาชีพและผู้ผลิตเชื้อเห็ดเศรษฐกิจมืออาชีพ โดยจะเปิดรับฝึกอบรมประจำปี2554 ดังนี้

กำหนดการฝึกอบรม
หลักสูตร นักเพาะเห็ดเศรษฐกิจมืออาชีพ
รุ่นที่ 12 ระหว่างวันที่ 18-22 ตุลาคม 2553
รุ่นที่ 13 ระหว่างวันที่ 10-14 มกราคม 2554
รุ่นที่ 14 ระหว่างวันที่ 21-25 กุมภาพันธ์ 2554
รุ่นที่ 15 ระหว่างวันที่ 9-13 พฤษภาคม 2554
รุ่นที่ 16 ระหว่างวันที่ 20-24 มิถุนายน 2554

หลักสูตรผู้ผลิตเชื้อเห็ดเศรษฐกิจมืออาชีพ
รุ่นที่ 6 ระหว่างวันที่ 8-12 พฤศจิกายน 2553
รุ่นที่ 7 ระหว่างวันที่ 24-28 มกราคม 2554
รุ่นที่ 8 ระหว่างวันที่ 7-11 มีนาคม 2554
รุ่นที่ 9 ระหว่างวันที่ 23-27 พฤษภาคม 2554
รุ่นที่ 10 ระหว่างวันที่ 18-22 กรกฎาคม 2554

ผู้สนใจขอทราบรายละเอียดและสมัครเข้ารับการฝึกอบรมได้ที่ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัด นครปฐม 73140 โทร. 0-3428-1651,081-7368854